Now showing items 41-54 of 54

    • รู้ เข้าใจวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ติดต่อทางลมหายใจจากคนสู่คน ด้วยการแพร่กระจายผ่านละอองเสมหะจากการไอ จาม พูดคุย แต่ไม่ติดต่อด้วยการกินอาหารหรือน้ำด้วยกัน แต่ควรใช้ช้อนกลางและแยกภาชนะกัน วัณโรคเกิดได้กับหลายส่วนของร่างกาย เช่น ...
    • ลักษณะและผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคจากเรือนจำและผู้ป่วยวัณโรคทั่วไป ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 

      อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok; จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; จิราภรณ์ วงศ์ใหญ่; Jiraporn Wongyai; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ความเป็นมา: ผู้ต้องขังเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อวัณโรคและโรคเอดส์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำกับผู้ป่วยวัณโรคทั่วไปในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย ในเรื่องอัตราการป่วย ...
    • วัคซีนป้องกันวัณโรค: ความสำคัญและแนวทางการศึกษาวัคซีนป้องกันวัณโรคในประเทศไทย 

      นิธินันท์ มหาวรรณ; Nithinan Mahawan; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีปัญหาวัณโรคระดับรุนแรง ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากการป้องกันและควบคุมวัณโรคทุกระดับยังขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้วัคซีนเป็นวิธีการหนึ่งในก ...
    • วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรค 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ? ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 55 เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. 2511 – 2541วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนานถือได้ว่าเป็นการระบาดลูกที่สาม (third epidemic) และอยู่ในระดับภาวะฉุกเฉินโลก ...
    • วัณโรคในเด็กนักเรียน 

      ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Suntarattiwong; เกศสิรี กรสิทธิกุล; Katesiree Kornsitthikul; ประอร สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา; Pra-on Supradish; พักต์เพ็ญ ศิริคุตต์; Pugpen Sirikutt; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      บทนำ ประเทศไทยมีการประมาณการอุบัติการณ์ของโรควัณโรคในประชากรสูงติดอันดับ 1 ใน 30 ของโลก มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคปอดในเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและวัยรุ่น ซึ่งเมื่อมีการรวมตัวกันมีความเสี่ยงที่วัณโรคจะแพร่กระจาย ภาวะติดเชื้อ ...
    • สถานการณ์การป่วยเป็นวัณโรคของบุคลากรในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดตาก 

      กิตติพัทธ์ เอี่ยมรอด; Kittiphat Iemrod; วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์; Witaya Swaddiwudhipong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อวัณโรคขณะปฏิบัติงานสูงกว่าประชากรทั่วไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การป่วยเป็นวัณโรคของบุคลากรในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่อยู่ใ ...
    • สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 

      วรเชษฐ เต๋ชะรัก; Worachet Teacharak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนมีแนวชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า มีทางเข้าออกหลายช่องทาง ประชากรไทยและต่างด้าวเดินทางผ่านเข้าออกจำนวนมาก เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายของประชากรสูง อาจมีผลกระทบต่อแนวทางควบคุมวัณโรคแห่งชาติ การศึกษาครั้งนี้ ...
    • สถานการณ์วัณโรคในโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2548-2550 

      สมบัติ ธนานุภาพไพศาล; Sombat Thananuparppaisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้ดำเนินการเพื่อศึกษาสถานการณ์และวิทยาการระบาดของวัณโรค จากระบบเฝ้าระวังแบบบูรณาการของโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง ในจังหวัดนครราชสีมา ในปีงบประมาณ 2548-2550 ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรคทุกคนที่ขึ้นทะเบียนรักษา ...
    • สถานการณ์และควบคุมวัณโรคในประเทศไทย : ภาพสะท้อนของการคิดและวางแผนร่วมกันระหว่างหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      สถานการณ์และการควบคุมวัณโรคในประเทศไทย: ภาพสะท้อนของการคิดและวางแผนร่วมกันระหว่างหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข สองปัญหาหลักที่สำคัญสำหรับการควบคุมวัณโรคในประเทศไทย คือ การขาดแคลนการพัฒนาวัคซีนและยาใหม่ๆ และ การเพิ่มจำนวนผู้ที ...
    • หลักสูตรและประมวลรายวิชา การสื่อสารเพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์; Phahurat Kongmuang Thaisuwan; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศของโลกที่มีปัญหาเกี่ยวกับวัณโรค (Tuberculosis) ร่วมกันทั้งสามด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR-TB) สูง ซึ่งในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ...
    • เครื่องมือค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      โครงการพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค หนึ่งในผลงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ที่นำมาสู่การพัฒนาเป็นหลักสูตรการสื่อสารเพื ...
    • แนวทางป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การดูแลผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ให้ได้รับยาต้านวัณโรคอย่างถูกต้องตามแผนการรักษามีความสำคัญต่อการหายขาดจากวัณโรคและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมากไม่สามารถรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ...
    • แผนสืบค้นและทบทวนข้อมูลเพื่อใช้เป็นบริบทในการทำความเข้าใจสถานการณ์วัณโรคในแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยและเพื่อหาแนวทางการประเมินและพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ 

      นวพรรณ เมธชนัน; Nawaphan Metchanun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      จากการสืบค้นข้อมูลทางวรรณกรรม การสืบค้นอย่างเจาะจงและการสัมภาษณ์พบช่องว่างทางด้านการเก็บข้อมูลและข้อมูลทางสถิติ ทั้งในเรื่องจำนวนแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยและจำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ข้อมูลที่เผย ...
    • โครงการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการค้นหาวัณโรคเชิงรุก 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; ศีลวันต์ สถิตย์รัตนชีวิน; Seelwan Sathitratanacheewin; พนาสันต์ สุนันต๊ะ; Panasun Sunanta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับโลกนอกจากก่อให้เกิดความสูญเสียทางสุขภาพจากการป่วยและเสียชีวิต ยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ผลกระทบเกิดทั้งต่อผู้ป่วย ครอบครัวและคนใกล้ชิด รวมถึงสังคมสูญเสียผลิตภาพและศักยภาพของประชากร ...