Now showing items 61-80 of 157

    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดของโรงพยาบาลในประเทศไทยยุคของการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ปราณี เลี่ยมพุธทอง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      เพื่อให้การบริหารเวชภัณฑ์ในโรงพยาบาลแต่ละแห่งของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีประสิทธิได้มีการกำหนดให้บริหารในรูปคณะกรรมการที่ชื่อ “คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด” มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ และก็ยังมีการดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ...
    • ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ...
    • ความรู้เบื้องต้นในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานบริการสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; อดิศวร์ หลายชูไทย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      เอกสารฉบับนี้เป็นการสรุปความรู้เบื้องต้นที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต้นทุน ซึ่งนำแนวคิดทั้งด้านเศรษฐศาสตร์และด้านการบัญชีมาอธิบายควบคู่กันไป เพื่อลดความสับสนแก่ผู้ศึกษา
    • ความรู้และความตระหนักเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพและการจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศไทย 

      วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng; ฐิติพร หลาวประเสริฐ; Thitiporn Laoprasert; เสาวภา คชลัย; Saowapa Khotchalai; ศุภภัทร คีรีวรรณ; Supapat Kirivan; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; เจนจิตต์ คงกำเนิด; Janejit Kongkumnerd; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอุตสาหกรรมทางการเกษตรที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ เกษตรกรอาจใช้ยาปฏิชี ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทางกายจากการเดินทางและลักษณะทางประชากรของประชาชนในภูมิภาคของประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประโยชน์ทางสุขภาพจากกิจกรรมทางกายสัมพันธ์กับการเดิน การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ สถาบันการเดินและการจักรยานไทยได้ส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันในหลายจังหวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 การศึกษานี้ ...
    • ความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการแมมโมแกรมตามประเภทของระบบประกันสุขภาพผู้ใช้บริการในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม; วงเดือน จินดาวัฒนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      Objective : To describe the characteristics of mammography users and equal access to mammography services by beneficiaries of different insurance schemes. Setting : Mammography units of nine public hospitals, mamely the ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และความเหมาะสมในการนำเครื่องมือฉายรังสีโปรตอนมาใช้สำหรับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2543 โดยใช้การทบทวนเอกสารวิช ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • คุณภาพบริการโรงพยาบาลในสายตาผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (2539)
      การสำรวจความพึงพอใจของผู้ป่วยเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพบริการของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อคุณภาพบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาล 9 แห่งในกรุงเทพฯ ...
    • คุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและ โรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการ 

      จงดี ว่องพินัยรัตน์; Jongdee Wangpinairat; อรุณี ภูมิพานิชย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; ชลลดา สิทธิฑูรย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      รายงานการศึกษาคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและโรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการการวิจัยนี้เป็นการศึกษาด้านคุณภาพยาเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรม ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนสถานีอนามัย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; ญาณวุฒิ รุ่งกิจการวัฒนา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)