Now showing items 61-80 of 546

    • การประเมินการทดลองอบรมหลักสูตรพื้นฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์; โครงการปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาศักยภาพการทำงานของนักสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด (สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553)
      การประเมินผลหลักสูตรการฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดให้กับนักสังคมสงเคราะห์ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ทั้งทางภาครัฐและองค ...
    • การประเมินความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลของบริการป้องกัน ควบคุม และ รักษาโรคเบาหวาน กรณีศึกษาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 

      ทิพพาวดี สืบนุการณ์; ภาณุ ภักดีสาร; เมตตาจิตร เจริญทรัพย์; คุณารักษ์ มณีนุษย์; พัฒนาวิไล อินใหม; อาณัติ วรรณศรี; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; ณัฏฐ์นิธิมา แจ้งประจักษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-05)
      โครงการประเมินความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลของบริการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคเบาหวาน กรณีศึกษาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานอย่ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านทางสายสวน ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง 

      อัญชลี เพิ่มสุวรรณ; Unchalee Permsuwan; วรธิมา อยู่ดี; Voratima Yoodee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และภาระด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติก ผ่านทางสายสวนเปรียบเทียบกับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง วิธีการศึกษา ใช้แบบจำลองแ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ...
    • การประเมินความชุกพฤติกรรมเสี่ยงและการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มประชากรชาวไทยภูเขา ประเทศไทย 

      ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การประเมินความชุกพฤติกรรมเสี่ยงและการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มประชากรชาวไทยภูเขา ประเทศไทย มุ่งศึกษาความชุก พฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ...
    • การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี 

      บัวหลวง สำแดงฤทธิ์; Bualuang Sumdaengrit; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม; Suchira Chaiviboontham; อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ; Apinya Siripitayakunkit; นพวรรณ พินิจขจรเดช; Noppawan Phinitkhajorndech; ซู้หงษ์ ดีเสมอ; Suhong Deesamer; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; จุฑามาศ เทียนสอาด; Juthamas Tiansaard; นิภาพร บุตรสิงห์; Nipaporn Butsing; อรวรรณ วราภาพงษ์; Orawan Warapapong; อุษา ใจหนัก; Usa Jainuk; นพมาศ มณีโชติ; Noppamas Maneechote; กาญจนา รัตนะราช; Kanjana Rattanarat; รุ่งธิวา กันทะวัน; Rungthiwa Kantawan; เสาวรส พาณิชย์วิสัย; Saowaros Panichvisai; รวี อยู่สำราญ; Rawee Yoosamran; นพกาญจน์ วรรณการโสกณ; Noppakan Wannakansophon; สุภาภรณ์ จันทร์ไทย; Supaporn Chanthai; สรวดี ยอดบุตร์; Sarawadee Yodbute; จิตติมา นุริตานนท์; Jittima Nuritanon; กาญจนา ปานนอก; Kanchana Pannok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ...
    • การประเมินผลคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ในประเทศไทย 

      ปรียานุช ศิริมัย; Priyanut Sirimai; โรงพยาบาลประจวบคิรีขันธ์; Prachuap Khin Khan Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพการดูแลรวมทั้งผลลัพธ์ในผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ โดยทำการวิจจัยเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาภาระโรคตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการดูแ ...
    • การประเมินผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กเล็ก 

      รวี เถียรไพศาล; Rawee Teanpaisan; สุพัชรินทร์ พิวัฒน์; Supatcharin Piwat; นันทิยา พาหุมันโต; Nuntiya Pahumunto; อรนิดา วัฒนรัตน์; Onnida Wattanarat; ชนิกา แมนมนตรี; Chanika Manmontri; อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์; Areerat Nirunsittirat; สุทธิชัย กฤษณะประกรกิจ; Suttichai Krisanaprakornkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-11)
      ในการศึกษาทางคลินิกที่ผ่านมาพบว่าโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 มีความปลอดภัย สามารถลดเชื้อก่อโรคฟันผุและความลดฟันผุได้โดยการได้รับนมผงผสม L. paracasei SD1 ทุกวัน ในการศึกษานี้เป็นการศึกษาต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์ ...
    • การประเมินเทคนิคทางอณูวิทยาเพื่อวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปีที่ 2 

      วัชระ กสิณฤกษ์; Watchara Kasinrerk; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool; พลรัตน์ พันธุ์แพ; Ponrut Phunpae; สรศักดิ์ อินทรสูต; Sorasak Intorasoot; ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ; Chayada Sitthidet Tharinjaroen; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; บดินทร์ บุตรอินทร์; Bordin Butr-Indr; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; เจียรนัย ขันติพงศ์; Jiaranai Khantipongse (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      วัณโรค (tuberculosis: TB) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistant TB: MDR-TB) เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ที่ผ่านมาพบว่าความครอบคลุมในการรักษา TB และ MDR-TB อยู่ในอัตราที่ต่ำโดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจาก ...
    • การประเมินแบบทดสอบการได้ยินห้านาทีฉบับภาษาไทยในการคัดกรองการได้ยินในชุมชน 

      ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พิภพ สิริเพาประดิษฐ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2554)
      ภาวะการสูญเสียการได้ยินเป็นภาวะที่พบได้บ่อย การสูญเสียการได้ยินส่งผลกระทบต่อการติดต่อสื่อสาร การเข้าสังคม ซึ่งทำให้เกิดปัญหากระทบต่อแผนการดำเนินชีวิต การศึกษา สถานภาพทางอาชีพ สภาพจิตใจเกิดภาวะซึมเศร้า เป็นภาระต่อครอบครัว ...
    • การปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุพื้นที่ตำบลหนองผึ้ง 

      เทศบาลตำบลหนองผึ้ง (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ(สสพ.), 2555-09)
    • การปรับปรุงประสิทธิผลในการให้บริการเคลือบหลุมร่องฟันโดยใช้นวัตกรรมอุปกรณ์ควบคุมความชื้นในช่องปาก (เครื่องมือกันลิ้น กันแก้มและลดการปนเปื้อนน้ำลาย: SS-Suction) : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม 

      สุกัญญา เธียรวิวัฒน์; Sukanya Tianviwat; ทรงชัย ฐิตโสมกุล; Songchai Thitasomakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของการใช้งานอุปกรณ์ช่วยเคลือบหลุมร่องฟันและประสิทธิผลของเครื่องมือช่วยเคลือบหลุมร่องฟัน (เครื่องมือกันลิ้น กันแก้มและลดการปนเปื้อนน้ำลาย: SS-Suction) ต่อคุณภาพของการเคลือบหลุมร่องฟัน ...
    • การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไต ผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย 

      รัตนา ชวนะสุนทรพจน์; Ratana Chawanasuntorapoj; บุณยฤทธิ์ ชื่นสุชน; Boonyarit Cheunsuchon; ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Thai Glomerular Disease Collaborative Network (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      ความรู้พื้นฐาน: โรคไตวายระยะสุดท้ายเป็นโรคที่มีอัตราทุพพลภาพ อัตราการเสียชีวิต และค่ารักษาสูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตเรื้อรัง/โรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรก และการให้การรักษาอย ...
    • การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไต ผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 2 

      รัตนา ชวนะสุนทรพจน์; Ratana Chawanasuntorapoj; บุณยฤทธิ์ ชื่นสุชน; Boonyarit Cheunsuchon; ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L.; Thai Glomerular Disease Collaborative Network (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเสบโกลเมอรูลัสเป็น ...
    • การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไตผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 3 

      รัตนา ชวนะสุนทรพจน์; Ratana Chawanasuntorapoj; บุณยฤทธิ์ ชื่นสุชน; Boonyarit Cheunsuchon; ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L.; สุชิน วรวิชชวงษ์; Suchin Worawichawong; นพนิต พัฒนชัยวิทย์; Nopanit Pattanachaiwit; บัญชา สถิระพจน์; Bancha Satirapoj; มงคล เจริญพิทักษ์ชัย; Mongkon Charoenpitakchai; วรางคณา พิชัยวงศ์; Warangkana Pichaiwong; ภานินี ถาวรังกูร; Paninee Thavarungkul; สิริภา ช้างศิริกุลชัย; Siribha Changsirikulchai; มนัสนันท์ รวีสุนทรเกียรติ; Manasanan Raveesunthornkiet; พรรณธิพา ต้นสวรรค์; Pantipa Tonsawan; อนุชา พัวไพโรจน์; Auncha Puapairoj; พรเพ็ญ แสงถวัลย์; Pornpen Sangthawan; วิญญู มิตรานันท์; Winyou Mitarnun; ภัทรวิน ภัทรนิธิมา; Pattharawin Pattharanitima; สักการ สังฆมานนท์; Sukkarn Sangkhamanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-07-31)
      ความรู้พื้นฐาน: โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเส ...
    • การปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เนื้อหาประกอบด้วย หลักฐานทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับวิถีชีวิตและความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ประสิทธิภาพของการปรับวิถีชีวิตต่อการลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความคุ้มค่าของการปรับวิถีชีวิตต่อการลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ...
    • การปรับสภาพบ้านเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการ 

      กตัญญู หอสูติสิมา (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2556-06)
      หนังสือเล่มนี้ จะขอกล่าวถึง การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพในสังคม ที่จะทำให้ทุกคนสามารถ ดำรงชีวิตที่พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น แม้จะมีข้อจำกัดทางกายอยู่บ้าง โดยเฉพาะในระดับครัวเรือนที่อยู่อาศัยที่เป็นฐาน พื้นที่ชีวิตหลักที่สำคัญ ...
    • การปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ : ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้สูงอายุ 

      มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะแพทยศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะเภสัชศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โครงการวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์ต้นทุนและผลลัพธ์ของบริการปรับสภาพบ้านสำหรับคนพิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้สูงอายุ” เป็นงานวิจัยที่เกิดจากการบูรณาการความร่วมมือระหว่างนักวิจัยจากคณะ เภสัชศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง ...
    • การปล่อยเชื้อไวรัสที่มีชีวิตอย่างยืดเยื้อในผู้ป่วย COVID-19 

      ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ชมพูนุท บุญอากาศ; Chompunuch Boonarkart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      การพบว่ามีสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่คงอยู่เป็นเวลานานแม้จะหายจากการป่วยแล้วนั้นเป็นสิ่งที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่สำคัญในการควบคุมโรค โดยมีคำถามสำคัญว่าการพบสารพันธุกรรมดัง ...
    • การป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในหออภิบาลผู้ป่วย 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; สุชาดา เหลืองอาภาพงศ์; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      โครงการวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการติดเชื้อดื้อยาที่เหมาะสมที่หออภิบาลผู้ป่วยของโรงพยาบาลระดับทุติภูมิและตติยภูมิสามารถนำไปปฏิบัติได้ รวมทั้งเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ...