Now showing items 3153-3172 of 5640

    • ชายรักชาย 

      สุพร เกิดสว่าง; Suporn Koetsawang (สามเจริญพาณิชย์, 2546)
      หนังสือเรื่อง ชายรักชาย เล่มนี้ สำเสนอเรื่องนี้เพื่อให้สังคมเข้าใจชาย รักร่วมเพศ หรือ ชายรักชาย รวมทั้งให้ชายรักร่วมเพศเองเข้าใจตนเองดีขึ้น เพื่อให้สังคมเปลี่ยนจากสังคม Homophobia เป็นสังคมที่เข้าใจและยอมรับชายรักร่วมเพศ ...
    • ชีวการเมืองและเรือนร่างพิการ : ประวัติศาสตร์การสร้างพลเมืองที่กํ้ากึ่ง 

      ประชาธิป กะทา; Prachatip Kata (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557-06-01)
      หนังสือเล่มนี้ จะเปิดเผยความไม่คงเส้นคงวาและการเปลี่ยนรูป (transformation) ของนโยบายของรัฐไทยที่มีต่อคนพิการภายใต้บริบทการเมืองและเศรษฐกิจในแต่ละยุค อิทธิพลอำนาจวาทกรรมขององค์กรระดับนานาชาติ และหลักการศีลธรรมเชิงสถาบัน ...
    • ชีววัตถุ 

      สุธีรา เตชคุณวุฒิ; Suthira Taychakhoonavudh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ...
    • ชีวิตคู่(ไม่)รู้กัน 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2546)
      ครอบครัวเป็นแหล่งหล่อหลอมกล่อมเกลาและฟูมฟักให้ผู้คนพัฒนาทักษะทางสังคมและจิตวิญญาณ เป็นฐานรากสำหรับก่อสร้างรูปลักษณ์ของคนในสังคมรุ่นต่อๆ ไป งานวิจัยนี้เจาะลึกถึงอดีตที่บ่มเพาะจิตใจและทัศนะทางสังคมของคนจริงๆ ในสังคม ...
    • ชีวิตและสุขภาพของเด็กต่างด้าวและการเข้าถึงบริการสาธารณสุข 

      ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย ...
    • ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ...
    • ชุดปิดแผลสุญญากาศแบบดัดแปลง,1998 กับแผลเรื้อรัง 

      ปาณิสรา สุขสวัสดิ์; Panitsara Suksawad (โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 3 : R2R in Tertiary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 9 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัลดีเด่น ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ไมเคิล ซิชอน; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 4 พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า-ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัยที่มุ่งกำไรเป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด กฎหมายนี้ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาลไม่เกินเพดานที่กำหนด ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์หลักด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Panarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุ ...
    • ชุมชนกับการคัดกรองโรคเบาหวาน 

      รัชฏาพร รุญเจริญ; Ratchadaporn Runcharoen; อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์; จำนันต์ ผิวละออ; ประนอม พริยานนท์; ภัทรพล คันศร; เลียง อุปมัย; ธีรพล เศรษฐศรี; แจ่มจันทร์ ศรีนัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      มาตรการหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมโรคเบาหวานคือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ณ สถานบริการสุขภาพ จากจำนวนผู้ป่วยที่มีรายงานต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆ ของหมู่บ้านสนามแจ้ง ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ โรงพยาบาลขุนหาญจึงได้ทำการศึกษาการมีส่วนร่วมของ ...
    • ชุมชนกับการจัดการอาหารปลอดภัย 

      ละมัย เวทำ (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปือ จังหวัดน่าน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ : กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของประเทศไทย 

      ทานาเบ, ชิเกฮารุ; Tanabe, Shikeharu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      หนังสือเล่มนี้ เป็นการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับความพยายามในการดำรงไว้ซึ่งการมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของตนเองเมื่อต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยและความทุกข์ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร ...
    • ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 

      วิเชียร อันประเสริฐ; Wichean Unprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรครั้งนี้ เป็นงานศึกษาโดยใช้วิธีการสืบคืนข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวบ้านในฐานะที่เป็นเกษตรกรที่ทำการผลิตในระดับชุมชน โดยเน้นไปที่เกษตรกรในฐานะผู้ใช้สารเคมี การศึกษาครั้งนี้เป็น ...