Browsing by Title
Now showing items 3334-3353 of 5802
-
ตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-11)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม “เปิดพื้นที่วิจัยระบบสุขภาพ สู่การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์” และประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 ในวันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 8.30–16.30 น. ณ โรงแรมอัศวิน ... -
ตรวจสุขภาพคนขับรถสาธารณะนำร่อง 7 รพ. ทั่ว กทม.
(2551-08) -
ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเกินความจำเป็น การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่คำนึงถึงเชื้อดื้อยา การใช้ยาราคาแพงนอกบัญชียาหลัก การใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย การใช้ยาโดยบุคลากรทางการแ ... -
ตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยใน (Administrative data) กับคุณลักษณะของโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษาวิจัยเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยในกับคุณลักษณะของโรงพยาบาล เป็นการศึกษาถึงตัวชี้วัดทางคุณภาพของหน่วยบริการจากข้อมูลผู้ป่วยใน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบตัวชี้วัดซึ่งมีการใช้ในการประเมินคุณภาพของหน่วยบริ ... -
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรา ... -
ตัวชี้วัดและการเฝ้าระวังผลกระทบสุขภาพประชาชนในบริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)โรงไฟฟ้าและเหมืองถ่านหินโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แต่ในปัจจุบันยังไม่มีระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงโรงไฟฟ้า การศึกษานี้เพื่อกำหนดตัวชี้วัดและแนวทางก ... -
ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2557-01)เขตบริการสุขภาพส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ร่วมกับหน่วยงานทุกสังกัดที่เกี่ยวข้องในการให้บริการทางการแพ ... -
ตัวอย่างแบบสอบถามในการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบทางสุขภาพด้วยตนเอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
ตัวแทนแพทย์ทางไกลอัจฉริยะแบบพกพาเพื่อสนับสนุนการตรวจวัดและให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-02)การวิจัยเรื่องตัวแทนแพทย์ทางไกลอัจฉริยะแบบพกพาเพื่อสนับสนุนการตรวจวัดและให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบฐานความรู้ ฐานกฎอนุมานความรู้และเงื่อนไขที่จำเป็นต่อ ... -
ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนชนบทไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-03)การวิจัยเรื่อง “ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนในชนบทไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและถอดตัวแบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุของครอบครัวและการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุของชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกว่าม ... -
ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552)การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ทำให้มีอุปสรรคในการดูแลผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยที่เคยปฏิบัติมาในอดีต อย่างไรก็ตามบางชุมชนและบางครอบครัวยังสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดี การค้นหาแล ... -
ตัวแบบการพัฒนาการบริหารและการจัดการภายในโรงพยาบาลบ้านแพ้ว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การศึกษารูปแบบและการประเมินผลด้านการบริหารและการจัดการภายใน เป็นการศึกษาต่อเนื่องในปีที่ 2 ซึ่งในปีที่ 1 ของการศึกษา ช่วงปี 2544 สิ้นสุดเมื่อ มกราคม 2545 โดยการศึกษาจะเป็นการประเมินผลการบริหารงานและการจัดการภายในเพื่อประ ... -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.คือเวียง หนองหล่ม บ้านถ้ำ บ้านปิน อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03) -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.บุ่งคล้า อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03) -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.บ้านเป้า อ.เมือง จ.ลำปาง
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03) -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03) -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.อ่าวลึกเหนือ อ.อ่าวลึกเหนือ จ.กระบี่
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03) -
ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ตำบลปลายโพงพาง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม และต.ท่าไม้รวก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)