Now showing items 2441-2460 of 5668

    • การเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และใช้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพเพื่อการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง 

      พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการเข้าถึงความเข้าใจ การประเมินคุณค่าและความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารสุขภาพเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง และการนำข้อมูลข่าวสารมาใช้ในการป้องกันและ ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังสามารถพบได้ทั่วไปในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง เช่น นิ่วในไต เบาหวาน ความดันโลหิตสูง รักษาพยาบาล และค่าฟอกเลือด สามารถทำให้ครอบครัวนั้นล้มละลายทางด้านการเงินได้ ...
    • การเข้าถึงบริการทันตกรรมประเภทต่างๆ ของประชากรไทย 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เป้าหมายหลักของการจัดบริการสุขภาพภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการเข้าถึงบริการที่จำเป็นอย่างเท่าเทียมกันของประชากร อัตราการรับบริการสุขภาพจึงเป็นตัวชี้วัดสำคัญในการประเมินการดำเนินงานตามเป้าหมายดังกล่าว แต่จากข้อมูล ...
    • การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ 

      รุ่งฤดี วงค์ชุม; Rungrudee Wongchum; พีรนุช ลาเซอร์; Peeranuch LeSeure; อรทิพา ส่องศิริ; Onthipa Songsiri; พิชาภรณ์ จันทนกุล; Pichaporn Janthanakul; วิชชุดา เจริญกิจการ; Vishuda Charoenkitkarn; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ...
    • การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเนื่องจากปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      ปัญหาการใช้ยาที่นำไปสู่การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นสาเหตุสำคัญของความเจ็บป่วยพิการซึ่งเป็นภาระต่อระบบสุขภาพซึ่งที่มีทรัพยากรจำกัด นอกจากนี้ปัญหาการใช้ยาเป็นประเด็นความเสี่ยงทางสุขภาพสำคัญในเอกสารเชิงนโยบายทั่วโลก จ ...
    • การเคลื่อนย้ายและกระจายกำลังเภสัชกรในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน 

      กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chanthapasa; รักษวร ใจสะอาด; Ruksaworn Chai-saard; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นวิธีวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การเคลื่อนย้ายและการกระจายกำลังคนด้านวิชาชีพเภสัชกร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างเภสัชกรที่ขึ้นทะเบียนกับสภาเภสัชกรรมที่ยังมีชีวิต ...
    • การเคลื่อนไหวร่างกายของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-07)
      การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือกิจกรรมทางกาย (Physical Activities) หมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งถ้าได้กระทำสม่ำเสมอจะเป็นพฤติกรรมที่สร้างเสริมสุขภาพ และมีผลต่อการป้องกันโรคที่สำคัญต่อไปนี้คือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมองตีบ ...
    • การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ทวีศักดิ์ มโนมยิทธิกาญจน์; Taweesuk Manomayitthikan; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การเงินการคลังบริการสุขภาพช่องปากในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษานี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่ายบริการสุขภาพช่องปาก จากรายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับรายจ่ายภาคครัวเรือน โดยใช้การวิเคราะห์รายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ 2 วิธี วิธีแรกคือ วิเคราะห์จากข้อมูลรายจ่าย ...
    • การเงินสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อย 

      ชุติมา สุรรัตน์เดชา; Chutima Suraratdecha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การเงินสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อย งานวิจัยนี้ได้ศึกษานโยบายสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้มีรายได้น้อยด้านการเงินสาธารณสุขในส่วนของงบประมาณและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ประเมินความพอใจและทัศนคติของผู ...
    • การเจ็บป่วยของคนไทยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การประชุมสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ และสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เป็นกระบวนการจัดประชุมที่ให้ทุกฝ่ายได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างใช้ปัญญาและสมานฉันท์ เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีของประชาชาติไทย ตามมาตรา 59 และมาตรา 60 ...
    • การเชื่อมหน่วยต้นทุนกับโปรแกรมเก็บข้อมูล โรงพยาบาลสระบุรี 

      อนันต์ กมลเนตร; Anan Kamolnate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • การเตรียมความพร้อมด้านระบบยา เวชภัณฑ์ และสิ่งของ เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ภาณุมาศ ภูมาศ; ดวงตา ผลากรกุล; พรพิมล จันทร์คุณภาส; ไพทิพย์ เหลือเรืองรอง; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการดำเนินการจัดหาและสนับสนุนยาเวชภัณฑ์และสิ่งของในระหว่างการเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสำหรับรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคต ...
    • การเตรียมความพร้อมรองรับการถ่ายโอน 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนและทิศทางในอนาคตการถ่ายโอนสถานีอนามัย วันที่ 22 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี
    • การเตรียมความพร้อมในการฉีดยาอินซูลินครั้งแรกของผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา 

      นวลผจง วินัยชาติศักดิ์ (โรงพยาบาลสูงเนิน, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 2 : R2R in Secondary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 10 กรณีศึกษาที่ได้รับร ...
    • การเตรียมชุดข้อมูลตัวอย่างขาเข้าจากแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ ของกระดูกผู้สูงอายุสำหรับการเรียนรู้ของเครื่องกลเพื่อใช้ในการพยากรณ์ และหาแนวทางป้องกันกระดูกหักในผู้สูงอายุ 

      อติชาต ขวัญเยื้อง; Atichart Kwanyuang; สุรพงษ์ ชาติพันธุ์; Surapong Chatpun; บุญสิน ตั้งตระกูลวนิช; Boonsin Tangtrakulwanich; พชร สุขลิ่ม; Phachara Suklim (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ภาวะโรคกระดูกพรุนก็เป็นอีกโรคหนึ่งที่อาจจะพบเจอได้บ่อยขึ้นเนื่องจากเป็นโรคที่พบมากในหมู่ผู้สูงอายุทั่วโลก ภาวะกระดูกพรุนจะเพิ่มความเสี่ยงในการแตกหักเสียหายของกระดูกและเมื่ ...
    • การเตรียมพร้อมและการจัดการตอบโต้การระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราช 

      จิตตาภรณ์ มงคลแก่นทราย; Jittaporn Mongkonkansai; จำนงค์ ธนะภพ; Chamnong Thanapop; ศศิธร ธนะภพ; Sasithorn Thanapop; วาริท เจาะจิตต์; Warit Jawjit; ธนพร คำพยา; Tanaporn Khamphaya; อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; จิรพัฒน์ นาวารัตน์; Jiraphat Nawarat; ประเสริฐ มากแก้ว; Prasert Makkaew; จารุภา เลขทิพย์; Charupa Lektip; นิธิมา หนูหลง; Nitima Nulong; นพดล ปรีชา; Nopadol Precha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      ศาสนสถาน เป็นสถานที่หนึ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้เคารพและศรัทธาได้เข้ามาประกอบดำเนินกิจกรรมสำคัญทางศาสนา ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีการรวมกลุ่มของประชาชนจำนวนมาก ทำให้เพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 ได้มากขึ้น การศึกษานี้เป็น ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกับกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ เนื่องจากผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...