• ความสำคัญของการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคสิลิโคสิส และโรคใยหิน 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ประเทศไทยใช้สิลิคาและแร่ใยหินมานาน แต่มีรายงานการวินิจฉัยลิสิโคสิสและโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดซึ่งอาจเกิดจากแร่ใยหินเพียงไม่กี่ราย การขึ้นทะเบียนกลุ่มโรคเสี่ยงโรคสิลิโคสิสและโรคเกี่ยวกับแร่ใยหิน เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการเฝ้ ...
    • ความสำคัญของการสืบค้นฐานข้อมูลสิทธิบัตรเพื่่อการวิจัยและพัฒนา 

      อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ; Akkharawit Kanjana-opas (ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2557-09-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการฝึกอบรม เรื่อง “การพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อการวิจัยต่อยอดและนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์” วันที่ 26 กันยายน 2557 เวลา 9.00-17.00 น. ณ ห้องแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
    • ความสำเร็จของการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้ป่วยสามกลุ่มโรค ได้แก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บของสมอง และการบาดเจ็บที่ไขสันหลังตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและ ...
    • ความสุขในการบริหารเครือข่าย R2R: Yasothon Team 

      เพ็ญประกาย สร้อยคำ; Penprakai Soikham (โรงพยาบาลยโสธร, 2552-07-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 7 : ความสุขในการบริหารเครือข่ายด้วยแนวทางการสนับสนุนการทำ R2R วันที่ 17 กรกฎาคม 2552 ...
    • ความเข้มข้นของเรเดียม-226 ในน้ำบ่อตื้นใน อ.นาหม่อม จ.สงขลา 

      จเร วุฒิศาสน์; Chare Wutisan; สุเทพ แสงงาม; Suthep Sangngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดในการเกิดมะเร็งขึ้นในร่างกาย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดมะเร็ง ในชีวิตประจําวันน้ำมีส่วนสําคัญในการดํารงชีวิต การใช้น้ำบ่อตื้นเพื่อบริโภคเป็นที่นิยมในหมู่ประชาชนตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา ...
    • ความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล 

      อุมารินทร์ คำพูล; Aumarin Kumpool; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาลในแง่ความเห็นพ้องกับเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ...
    • ความเข้าใจในนโยบายสาธารณะ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สุวรรณี วังกานต์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2553)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อสมรรถนะของระบบสุขภาพ โดยข้อมูลท ...
    • ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความเชื่อมโยงของประเด็นต่างๆ กับสุขภาพสามารถอ้างถึงได้ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ได้จำกัดความคำว่า “สุขภาพ” ว่าหมายความถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกั ...
    • ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพและมาตรฐานต่างๆ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongchundee; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; อัจฉรา คำมะทิตย์; Adchara Khammathit; กิตติพร เนาว์สุวรรณ; Kittiporn Nawsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)
      การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • ความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการแมมโมแกรมตามประเภทของระบบประกันสุขภาพผู้ใช้บริการในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม; วงเดือน จินดาวัฒนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      Objective : To describe the characteristics of mammography users and equal access to mammography services by beneficiaries of different insurance schemes. Setting : Mammography units of nine public hospitals, mamely the ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน: กรณีชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ชัยยง ขามรัตน์; Boonma Soontaraviratana; Narongsak Noosorn; Supasit Pannarunothai; Chaiyong Kamrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพในแนวคิดสิทธิมนุษยชน เพื่อหาแนวทางลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพระหว่างกลุ่มคนไทยพื้นราบ,กลุ่มชาวเขาสัญชาติไทย และกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ รวม 789 คนใน ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ...