Now showing items 2889-2908 of 5668

    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน: กรณีชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ชัยยง ขามรัตน์; Boonma Soontaraviratana; Narongsak Noosorn; Supasit Pannarunothai; Chaiyong Kamrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพในแนวคิดสิทธิมนุษยชน เพื่อหาแนวทางลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพระหว่างกลุ่มคนไทยพื้นราบ,กลุ่มชาวเขาสัญชาติไทย และกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ รวม 789 คนใน ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ...
    • ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย พ.ศ.๒๕๕๐ 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทบรรณาธิการฉบับนี้เป็นการค้นหามุมมองความเป็นธรรมในระบบงานวิจัยที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิดที่เป็นโอกาสของการค้นหาความรู้และมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นมากในการวิจัยค้นหาความรู้ รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเป็นมา หลักจริยธรรมการวิจัยในคน และ guidelines ต่างๆ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...
    • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

      อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
    • ความเสมอภาคในระบบบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      แนวความคิดเรื่องความเสมอภาคตามหลักเศรษฐศาสตร์ มี 3 หลักการ และแนวทางในการพิจารณาต่างๆ กัน ไม่ได้มีความหมายหนึ่งเดียวที่เป็นสากล ระบบบริการสุขภาพแต่ละประเทศต้องตัดสินใจถึงจุดประสงค์ของความเสมอภาคของตนเอง ที่สำคัญคือ ...
    • ความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อทางโลหิตบริจาคในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 

      พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ศศิธร เพชรจันทร; Sasitorn Bejrachandra; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; Pimpun Kitpoka; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; Cheewanan Lertpiriyasuwat; วารุณี จินารัตน์; Varunee Jinaratana; พรรณดี วัฒนบุญยงเจริญ; Phandee Watanaboonyongcharoen; ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์; Duangtawan Thammanichamond; ดารินทร์ ซอโสตถิกุล; Darintr Sosothikul; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; เจตตวรรณ ศิริอักษร; Jettawan Siriaksorn; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; Thanapoom Rattananupong; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; สิณีนาฏ อุทา; Sineenart Oota; สาธิต เทศสมบูรณ์; Sathid Thedsomboon; เกรียงศักดิ์ ไชยวงค์; Kriangsak Chaiwong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh; พีระยา สุริยะ; Peeraya Suriya; อภิสิทธิ์ ทองไทยสิน; Apisit Tongthaisin; อภิวรรษ ติยะพรรณ; Apiwat Tiyapan; คามิน วงษ์กิจพัฒนา; Kamin Wongkijpatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02-14)
      ที่มาและวัตถุประสงค์ จากการลดลงของความชุกโรคเอดส์ ร่วมกับมีการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Nucleic Acid Test ที่ช่วยลด Window Period ของการตรวจเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus, HIV) บางประเทศจึงเริ่มให้ผู้มีพฤติกรรมเพ ...
    • ความเสี่ยงและความปลอดภัย: การโดยสารรถตู้สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      อมราพร สุรการ; Amaraporn Surakarn; ณภัทรรัตน์ ไชยอัครกัลป์; Napattararat Chaiakkarakan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทำความเข้าใจธรรมชาติของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการโดยสารรถตู้สาธารณะในชีวิตประจำวัน ผ่านมุมมองของผู้โดยสารและคนขับรถตู้โดยสารสาธารณะ 2) ค้นหาแนวทางในการป้องกันอันตรายข ...
    • ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน โรงพยาบาลสังคม จังหวัดหนองคาย 

      บรรจบ อุบลแสน; Banchob Ubonsaen; รุจี พรชัย; Ruchee Pornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและพบบ่อยในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน เป้าหมายการศึกษานี้คือทำการค้นหาปัจจัยเสี่ยงสำคัญและประเมินโอกาสเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ...