Now showing items 2955-2974 of 5660

    • คุณภาพของข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนและสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนในประเทศไทย 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์; Yodphon Tanaboribun (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์คุณภาพของข้อมูลและเพื่อรวบรวม วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุจราจร และความสัมพันธ์กับแนวโน้มการกระจายของปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลที่มี เพื่อการวางยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาแ ...
    • คุณภาพของระบบสุขภาพ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในหกเล่มของเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที่ 3 เรื่อง ภูมิปัญญาประชาคม สู่สุขภาพประชาชาติไทย ระหว่างวันที่ 15-17 สิงหาคม 2543 ความพยายามของผู้เขียนในการรวบรวมและเรียบเร ...
    • คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี : กรณีศึกษากลุ่ม "รวมน้ำใจริมน้ำลาว" อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย 

      เกียรติชาย จิระมหาวิทยากุล; Kiatchai Jiramahavitayakul; สำราญ เชื้อเมืองพาน; Samran Chuamuangphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ: 1. ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วย 2. ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วย และ 3. ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒน ...
    • คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; เยาวดี สุวรรณนาคะ; อรุณี ไชยฤทธิ์; บุญสืบ โสโสม; สราวุฒิ สีถาน; มยุรี สร้อยศรีสวัสดิ์; สำราญ จันทร์พงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ...
    • คุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพ เขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ 

      ภิญโญ เจียรนัยกุลวานิช; Pinyo Jearanaikulvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพเขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังโดยการรวบรวมข้อมูลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉินผ่านทางหน่วยกู้ชีพของเขตอำเภอสูงเม่น ...
    • คุณภาพบริการทางการแพทย์และจริยธรรมของแพทย์ 

      ชูชัย ศุภวงศ์; Choochai Supawongse (2537)
      ในปัจจุบันปัญหาคุณภาพบริการทางการแพทย์และจริยธรรมของแพทย์ กำลังได้รับความสนใจจากทุกฝ่าย บทความนี้ได้นำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์สภาพปัญหาจากคดีต่างๆ ที่ร้องเรียนมายังแพทยสภา พร้อมทั้งได้เสนอทางออกต่อปัญหาต่างๆ ไว้อย่างน่าสนใจ
    • คุณภาพบริการโรงพยาบาลในสายตาผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (2539)
      การสำรวจความพึงพอใจของผู้ป่วยเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพบริการของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อคุณภาพบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาล 9 แห่งในกรุงเทพฯ ...
    • คุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและ โรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการ 

      จงดี ว่องพินัยรัตน์; Jongdee Wangpinairat; อรุณี ภูมิพานิชย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; ชลลดา สิทธิฑูรย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      รายงานการศึกษาคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและโรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการการวิจัยนี้เป็นการศึกษาด้านคุณภาพยาเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรม ...
    • คุณภาพยาในประเทศไทย: ข้อมูล 15 ปีจากโครงการประกันคุณภาพยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 

      จันทนา พัฒนเภสัช; Juntana Pattanaphesaj; สมศักดิ์ สุนทรพาณิชย์; Somsak Sunthornphanich; สุรัชนี เศวตศิลา; Suratchanee Savetsila; โสมขจี หงษ์ทอง; Somkhachi Hongthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ยาไม่เข้ามาตรฐานก่อให้เกิดผลเสียหลายประการ เช่น อัตราการดื้อยาเพิ่มขึ้น เกิดอาการข้างเคียงหรือพิษจากยา อัตราการป่วยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ต้องใช้งบประมาณมากขึ้นในการรักษาพยาบาล รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ขาดความเชื่อ ...
    • คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ...
    • คุณลักษณะที่พึงประสงค์และการรวมกลุ่มนักสื่อสารสุขภาพ 

      นรินทร์ สังข์รักษา; Narin Sungrugsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      รายงานวิจัย คุณลักษณะที่พึงประสงค์และการรวมกลุ่มนักสื่อสารสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักสื่อสารสุขภาพ บทบาทที่คาดหวังของนักสื่อสารสุขภาพ เปรียบเทียบนักสื่อสารสุขภาพที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน ...
    • คุณสมบัติของภรรยาในอุดมคติก่อนและหลังสมรส 

      เพ็ญระพี จินตดี; Penrapee Chintadee; พรรณระพี สุทธิวรรณ; Panrapee Suthiwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจว่าผู้ชายที่สมรสแล้วต้องการให้ภรรยาในอุคมคติของตนมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง และศึกษาเปรียบเทียบความต้องการของผู้ชายในช่วงก่อนสมรสและสมรสแล้วว่าผู้ชายให้ความสำคัญกับคุณสมบัติข้อใดในอุดมค ...
    • คุณสมบัติของสามีในอุดมคติ ก่อนและหลังสมรส 

      วิภาวี พงษ์สังข์; พรรณระพี สุทธิวรรณ; Vipavee Phongsang; Panrapee Suttiwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      งานวิจัยเชิงสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลสามีในอุดมคติของกลุ่มตัวอย่างหญิงแต่งงานแล้วที่ให้ความสำคัญกับคุณสมบัติของสามี และคุณสมบัติข้อใดบ้างที่ผู้หญิงต้องการแตกต่างไปจากเดิมเมื่อแต่งงานแล้ว จากกลุ่มตัวอย่าง 228 คน เป็นหญิงสัญชาติไทยอายุ ...
    • คุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้จัดการงานวิจัยมีบทบาทสำคัญต่อระบบงานวิจัย บทความนี้บรรยายรายละเอียดถึงคุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัยที่จำเป็นต้องมี ซึ่งได้แก่ 1.ความเป็นกลาง 2.ทักษาการประเมินโครงการวิจัย 3. ความรอบรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ...
    • คุณและโทษของแก๊สโอโซน 

      สรันยา เฮงพระพรหม; Sranya Hengphraphorm (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โอโซน (Ozone; O3) เป็นแก๊สธรรมชาติที่ถูกค้นพบครั้งแรกโดย Christian Friedrich Schonbein นักเคมีชาวเยอรมัน เมื่อ ค.ศ. 1840 โดยตั้งชื่อตามภาษากรีกว่า ozein ซึ่งแปลว่ากลิ่น โอโซนเกิดขึ้นจากออกซิเจนในบรรยากาศได้รับรังสีเหนือม่วง-เอ ...
    • คู่มือ SNOMED CT ภาษาไทย 

      ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Daorirk Sinthuvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2556 สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.) ได้เริ่มศึกษาวิจัยมาตรฐานสากล Systematized Nomenclature of Medicine Clinical Terms (SNOMED CT) ซึ่งเป็นระบบศัพท์ทางการแพทย์มีความครอบคลุมการแพทย์ในสาขาต่างๆ ทั้ง ...
    • คู่มือ อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน การจัดการภาวะวิกฤต หลังการระบาดของโรคโควิด-19 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; ลัดดา เหลืองรัตนมาศ; Ladda Leungratanamart; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongpeth; ลักคณา บุญมี; Lakkana Boonmee; ธนิฏฐา ทองนาค; Thanittha Thongnak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้มีความสำคัญในการดำเนินงานด้านจัดการสุขภาพชุมชนในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 โดยการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน นอกจากนี้ยังมีบทบาทเป็นผู้นำพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัย ...
    • คู่มือการควบคุมและป้องกันแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • คู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมาธิสั้นเป็นโรคที่เด็กมีความผิดปกติที่สำคัญ 3 ด้าน คือ อาการขาดสมาธิ พฤติกรรมหุนหันพลันแล่น และอยู่ไม่นิ่งหรือซนผิดปกติการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ไม่ดี ซึ่งทำให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับเด็กได้ ปัญหาที่เกิดจากโรคส ...