Now showing items 3295-3314 of 5652

    • ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ...
    • ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; อภิรนันท์ พงจิตภักดิ์; Aphiranan Phongjetpuk; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; ชัชชน ประเสริฐวรกุล; Chatchon Prasertworakul; ทยาภา ศรีศิริอนันต์; Thayapa Srisirianun; พงษ์ลัดดา หล่ำพู่; Pongladda Lampu; อรรศธร ศุกระชาต; Assatorn Sukrachat; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...
    • ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรม ๑ ครั้งในชีวิตของผู้หญิงไทย 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้หญิงไทย อุบัติการณ์ คือ 25.6 คนต่อผู้หญิงไทย 100,000 คนปัจจุบันมีเพียงการตรวจคัดกรองด้วยเครื่องแมมโมแกรมที่มีหลักฐานยืนยันว่าลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านม แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ...
    • ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี ข้อมูลสำหรับระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สัญญา ศรีรัตนะ; ทวี รัตนชูเอก; ทวีสิน ตันประยูร; ชัยเวช ธนไพศาล; ธำรง ตรรกวาทการ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      ปัจจุบันสัดส่วนการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องในประเทศไทยมีน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศทั้งนี้เนื่องจากขาดแรงจูงใจในการให้บริการ จึงศึกษาเพื่อหาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่า ...
    • ต้นทุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพ 8 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนภาพรวมของเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิโดยคัดเลือกพื้นที่อำเภอที่มีระบบบริการปฐมภูมิที่ดี มีการบริหารจัดการในลักษณะของเครือข่ายตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบบริการปฐมภูมิ ...
    • ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยโรคที่พบมาก 5 อันดับแรก หอผู้ป่วยพิเศษศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ปีงบประมาณ 2559 

      จีรนันท์ แสงฤทธิ์; Jeeranunt Sangrit; สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton; สหภูมิ ศรีสุมะ; Sahaphume Srisuma; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ต้นทุนบริการสุขภาพเป็นตัวชี้วัดที่ผู้บริหารโรงพยาบาลให้ความสำคัญในการใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยจำแนกตามโรคที่พบมาก 5 ลำดับแรก ...
    • ต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่าย 

      บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      โรคหืดถูกจัดอยู่ในกลุ่มภาวะไวการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory care sensitive condition; ACSC) คือหากมีการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกอย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถหลีกเลี่ยงการเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ การที่ผู้ป่วยโรคหืดต้อง ...
    • ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamcharasrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      แม้ว่าปัจจุบันจะมีวิธีการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างมีประสิทธิภาพ แต่พบว่ามีผู้ป่วยโรคเหล่านี้จำนวนมากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจาก (ก) จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามโครงสร้างอายุของประชากรที่เพิ ...
    • ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเท ...
    • ต้นแบบการใช้แอปพลิเคชันคุณลูกเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; Pagakrong Lumbiganon; สุมิตร สุตรา; Sumitr Sutra; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ด้านพัฒนาการของเด็กไทยช่วงวัย 0-5 ปี พบว่า มีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้าถึงร้อยละ 26 ส่วนเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะสูงด ...
    • ต้นแบบตัวเลขอารบิก 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เลขอารบิกในหนังสือเล่มหนึ่งเมื่อ 40 ปีมาแล้ว ที่แสดงกำเนิดตัวเลข 1 ถึง 0 ว่าเกิดจากรูปสัญลักษณ์ในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่อาศัยจำนวนมุม 1 มุมจนถึง 9 มุม เป็นตัวเลข 1-9 ตามลำดับ สำหรับเลข 0 นั้นไม่มีมุมเลยจึงเป็นรูปไข่ ...
    • ต้นแบบร่างข้อกำหนดของการจัดบริการขั้นต่ำที่จำเป็นและแนวทางการตรวจประเมินบริการในกลุ่มผู้ป่วยระยะท้าย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; ภรเอก มนัสวานิช; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์; พิมพ์ณิชา เทพวัลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      การบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตในระยะท้าย (Hospice Care) เป็นการดูแลรักษาผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยมิได้มีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่อรักษาโรคของผู้ป่วยเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ด้วยวิธีการรักษาแบบองค์รวม ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 

      สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลและการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดับ ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 : พ.ศ. 2563 

      กระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล และการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดั ...
    • ต้นไม้การตัดสินใจ 

      ครรชิต มาลัยวงศ์; Kanchit Malaivongs (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ต้นไม้การตัดสินใจ (decision tree) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้วิเคราะห์เหตุการณ์ หรือสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว ต้นไม้การตัดสินใจมีลักษณะเป็นกราฟรูปต้นไม้ ซึ่งแสดงที่ตั้งต้นที่มีรากและแขนงต่างๆแตก ...
    • ถนนสายชีวิต 

      วีรยา ชัยมานะกิจ (ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดแม่ฮ่องสอน จ.แม่ฮ่องสอน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ถอดบทเรียนกระบวนการเรียนรู้จากงานอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งด้านกำลังคนในการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนตาบอด 

      แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)
      วันนี้ กลับมาจากการทำ workshop ครูฝึกคนตาบอด เป็นงานสามวันครึ่ง ที่จัดกันแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย คือมีภาคกลางคืนทั้งสามวัน สำหรับงานนี้ โดยภาพรวมแล้วก็อาจถือเป็นงานที่ดี น่าถอดบทเรียนอีกงาน แม้หากจะเปรียบเทียบกับงานครั้งอื่นๆ ...
    • ถอดบทเรียนกลไกการสร้างเครือข่ายการทำงานด้านความรู้ 

      อุไรวรรณ ชัยมินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้องานวิจัยเพื่อสุภาพชุมชน : สะท้อนคิดและวิเคราะห์กระบวนการ วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี
    • ถอดบทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ 

      วิพุธ พูลเจริญ; บัณฑิต ศรไพศาล; เกษม เวชสุทธานนท์; สมใจ ประมาณพล; ษากุล สินไชย; กุลธิดา จันทร์เจริญ; เพ็ญศรี สงวนสิงห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุช, 2547-10)
      หนังสือถอดบทเรียนการจัดการงานวิจัยเล่มนี้ เป็นความร่วมมือของทีมงานสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ช่วยกันสรุปประสบการณ์จัดการงานวิจัยระบบสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายนักวิจัยหลากหลายสาขา เพื่อช่วยสะท้อนให้เข้าใจแนวคิดและวิ ...