Browsing by Title
Now showing items 3301-3320 of 5240
-
บันทึกเด็กชายก้อนดิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2545) -
บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขจะได้อะไร เมื่อออกนอกระบบ ก.พ.
(2557-09-05)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี -
บุหรี่-มะเร็งปอด การสูญเสียสุขภาพ-ชีวิต และการสูญเสียเศรษฐกิจ
(2537)แม้ว่าประเทศไทยจะประสบความสำเร็จอย่างสูงในเรื่องการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ แต่ประเทศไทยก็ยังมีผู้สูบบุหรี่กว่า 10 ล้านคน และยังมีผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 5 แสนคน บทความนี้เป็นการทบทวนและวิเคราะห์างวิชาการ ... -
บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ... -
บูรณาการระบบข้อมูลสุขภาพ: คานงัดของระบบบริการสุขภาพที่เน้นคุณค่า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ... -
บูรณาการเบาหวานด้วยกันไปทั้งอำเภอ จากเบาหวาน สู่การขยายผล
(โรงพยาบาลมวกเหล็ก จ.สระบุรี, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง คุณค่า R2R เบาหวาน สู่การขยายผล วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-14.30 น. ณ Jupiter12 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี -
ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์
(สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ... -
ปฏิรูป สวรส. ก้าวสู่การวิจัยระบบสุขภาพในทศวรรษที่ 3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มีสถานะเป็นนิติบุคคล มีภารกิจในการสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความรู้ สนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ การพัฒนานโยบายสุขภาพที่ส ... -
ปฏิรูปด้านการคลังสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ... -
ปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย : จากเป้าประสงค์สู่แนวทางการขับเคลื่อน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ... -
ปฏิรูปแนวคิดคนไทย : สุขภาพไม่ใช่โรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541) -
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ... -
ประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าว สถานการณ์ ช่องว่าง ระบบบริการและผลกระทบด้านสุขภาพทิศทางสู่อนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ... -
ประกันสุขภาพในระบบประกันสังคมสำหรับคนต่างด้าว สถานการณ์ ช่องว่างและข้อเสนอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ... -
ประชากร การตั้งถิ่นฐาน และการขยายตัวของเมือง : ปัญหาและแนวนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ประชากร การตั้งถิ่นฐาน และการขยายตัวของเมือง : ปัญหาและแนวนโยบายรายงานฉบับนี้อภิปรายอย่างละเอียดเกี่ยวกับปัญหาที่เป็นผลพวงจากการขยายตัวของเมืองที่เติบโตโดยปราศจากการวางแผน หรือขาดการควบคุมให้เป็นไปในทิศทางที่พึงปรารถนา ... -
ประชากรวัณโรคอำเภอราษีไศล แนวโน้มการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยวัณโรค และแนวโน้มการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในอำเภอราษีไศล เพื่อทราบถึงสถานการณ์แนวโน้ม ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวกับผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานของคลินิกวัณโรคอำเภอราษี ... -
ประชาชนทัพทัน สามารถจัดการสุขภาพได้ด้วยชุมชนเองจริงหรือ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
(โรงพยาบาลทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี, 2554-07)วัตถุประสงค์ : 1. ศึกษาปัญหาการมีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพของชุมชน 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของชุมชน 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของชุมชน 4. เพื่อประเมินผลรูปแบบการ ... -
ประชาชนสุขภาพดีด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)การก้าวเข้าสู่ทศวรรษใหม่ เริ่มด้วยปี ค.ศ. 2020 บทเรียนจาก Healthy People หรือ ประชาชนสุขภาพดีในสหรัฐอเมริกา น่าจะเหมาะสมกับบทบรรณาธิการฉบับนี้ มองย้อนหลังไปเดือนกันยายน ค.ศ. 1990 กระทรวงสาธารณสุขแห่งสหรัฐอเมริกาเปิดตัวหนังสือ ... -
ประชาสังคม : ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)แนวคิดการพัฒนากระบวนการประชาสังคม หรือ Civil Society เพื่อสร้างความเข้มแข็งของสังคม อันจะนำไปสู่ สังคมสมานุภาพ และความสงบ สุข สันติ ในสังคมนั้นเพิ่งจะมีการนำเสนอเข้ามาสู่แวดวงนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ของไทย ... -
ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพ : บทวิเคราะห์ทางวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)แนวคิดการพัฒนากระบวนการประชาสังคม หรือ Civil Society เพื่อสร้างความเข้มแข็งของสังคม อันจะนำไปสู่ สังคมสมานุภาพ และความสงบ สุข สันติ ในสังคมนั้นเพิ่งจะมีการนำเสนอเข้ามาสู่แวดวงนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ของไทย ...