Now showing items 3307-3326 of 5660

    • ต้นแบบการใช้แอปพลิเคชันคุณลูกเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; Pagakrong Lumbiganon; สุมิตร สุตรา; Sumitr Sutra; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ด้านพัฒนาการของเด็กไทยช่วงวัย 0-5 ปี พบว่า มีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้าถึงร้อยละ 26 ส่วนเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะสูงด ...
    • ต้นแบบตัวเลขอารบิก 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เลขอารบิกในหนังสือเล่มหนึ่งเมื่อ 40 ปีมาแล้ว ที่แสดงกำเนิดตัวเลข 1 ถึง 0 ว่าเกิดจากรูปสัญลักษณ์ในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่อาศัยจำนวนมุม 1 มุมจนถึง 9 มุม เป็นตัวเลข 1-9 ตามลำดับ สำหรับเลข 0 นั้นไม่มีมุมเลยจึงเป็นรูปไข่ ...
    • ต้นแบบร่างข้อกำหนดของการจัดบริการขั้นต่ำที่จำเป็นและแนวทางการตรวจประเมินบริการในกลุ่มผู้ป่วยระยะท้าย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; ภรเอก มนัสวานิช; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์; พิมพ์ณิชา เทพวัลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      การบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตในระยะท้าย (Hospice Care) เป็นการดูแลรักษาผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยมิได้มีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่อรักษาโรคของผู้ป่วยเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ด้วยวิธีการรักษาแบบองค์รวม ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 

      สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลและการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดับ ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 : พ.ศ. 2563 

      กระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล และการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดั ...
    • ต้นไม้การตัดสินใจ 

      ครรชิต มาลัยวงศ์; Kanchit Malaivongs (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ต้นไม้การตัดสินใจ (decision tree) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้วิเคราะห์เหตุการณ์ หรือสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว ต้นไม้การตัดสินใจมีลักษณะเป็นกราฟรูปต้นไม้ ซึ่งแสดงที่ตั้งต้นที่มีรากและแขนงต่างๆแตก ...
    • ถนนสายชีวิต 

      วีรยา ชัยมานะกิจ (ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดแม่ฮ่องสอน จ.แม่ฮ่องสอน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ถอดบทเรียนกระบวนการเรียนรู้จากงานอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งด้านกำลังคนในการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนตาบอด 

      แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)
      วันนี้ กลับมาจากการทำ workshop ครูฝึกคนตาบอด เป็นงานสามวันครึ่ง ที่จัดกันแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย คือมีภาคกลางคืนทั้งสามวัน สำหรับงานนี้ โดยภาพรวมแล้วก็อาจถือเป็นงานที่ดี น่าถอดบทเรียนอีกงาน แม้หากจะเปรียบเทียบกับงานครั้งอื่นๆ ...
    • ถอดบทเรียนกลไกการสร้างเครือข่ายการทำงานด้านความรู้ 

      อุไรวรรณ ชัยมินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้องานวิจัยเพื่อสุภาพชุมชน : สะท้อนคิดและวิเคราะห์กระบวนการ วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี
    • ถอดบทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ 

      วิพุธ พูลเจริญ; บัณฑิต ศรไพศาล; เกษม เวชสุทธานนท์; สมใจ ประมาณพล; ษากุล สินไชย; กุลธิดา จันทร์เจริญ; เพ็ญศรี สงวนสิงห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุช, 2547-10)
      หนังสือถอดบทเรียนการจัดการงานวิจัยเล่มนี้ เป็นความร่วมมือของทีมงานสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ช่วยกันสรุปประสบการณ์จัดการงานวิจัยระบบสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายนักวิจัยหลากหลายสาขา เพื่อช่วยสะท้อนให้เข้าใจแนวคิดและวิ ...
    • ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 

      ปรีชาพล ปึ้งผลพูล; Preechapol Puengpholpool; ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล; Irinlada Wisitphonkul; ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก; Natticha Hongsamsibhok; อนุวัฒน์ รัสมะโน; Anuwat Ratsamano; ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์; Patthamaporn Khruahong; จริยา ดาหนองเป็ด; Chariya Danongped; นันนภัส กันตพัตชญานนท์; Nannaphat Kantaphatchayanon; ธีรพล ใจกล้า; Theerapon Jaikla; สุภนุช ทรงเจริญ; Supanuch Shongcharoen; จักรกฤษณ์ ปานแก้ว; Jakkit Pankaew; จันทร์จิรา เสนาพรม; Junjira Sanaprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัม ...
    • ถอดบทเรียนการดำเนินมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาในโรงพยาบาลนำร่อง 3 แห่ง : โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลตำรวจ และโรงพยาบาลศิริราช 

      สายศิริ ด่านวัฒนะ; อภิญญา อิสระชาญพานิช (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-07)
      เพื่อค้นหาจุดเด่นของการดำเนินการมาตรการภายใน ผู้มีบทบาทสำคัญ ปัจจัยความสำเร็จ ผลสำเร็จ และปัญหาอุปสรรคพร้อมข้อเสนอแนะ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่ม พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสารต่างๆ เรียบเรียงให้เข้ ...
    • ถอดบทเรียนการนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ; Jittaporn Chitreecheur; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; Narain Chotirosniramit; สมใจ ศิระกมล; Somjai Sirakamon; ปาริชาติ ภัควิภาส; Parichat Pakvipas (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      การถอดบทเรียน เรื่อง การนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นการค้นหาความรู้จากการปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติ และนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒ ...
    • ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-01)
      ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นวิถีของการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและประเพณีของไทยมาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบของอาหารและยา เพื่อใช้ในการนวด การอบ การประคบ ...
    • ถอดบทเรียนจากคดีมาบตาพุด: มุมมองนักกฎหมายสิ่งแวดล้อม 

      คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม; Kanongnij Sribuaiam (คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552-11-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการพัฒนาระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม จัดโดย ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการสนับสนุนของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ...
    • ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีว ...
    • ถอดบทเรียนโครงการอบรมผลิตรายการโทรทัศน์ DEAF ไทยไปเที่ยว : เสียงที่ไม่เคยหายไปจากโลกความเงียบ 

      มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จากจุดเริ่มต้นที่ลองให้คนหูหนวกผลิตหนังสั้น สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดผ่านการกระบวนการผลิตหนังสั้นก็คือ คนหูหนวกมีทักษะในการคิดและเล่าเรื่องด้วยภาพ หากพิจารณาให้ดีแล้ว ทักษะการเล่าเรื่องด้วยภาพเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งเลยทีเด ...
    • ถึงเวลานำ SNOMED CT มาใช้กับระบบสุขภาพไทย ทำไมเราต้องสนใจ SNOMED CT 

      รัฐ ปัญโญวัฒน์; Rath Panyowat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • ถ่ายโอนระบบสุขภาพกับรักษาทุกที่ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ฉบับเริ่มต้นปี พ.ศ. 2567 เสนอบทความการกระจายอำนาจถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และระบบสุขภาพปฐมภูมิ และขณะเดียวกับที่บรรยากาศนโยบายรัฐกำลังขับเคลื่อนนโยบายยกระดับบัตรทอง บัตรประชาชน ...
    • ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Tae-arak; นิภาพรรณ สุขศิริ; รำไพ แก้ววิเชียร; กิรณา แต้อารักษ์; Niphapan Suksiri; Rampai Kaeowwichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากการทบทวนพบว่า การดำเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความพร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบจ.) ยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขขอองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ชั้น 1 และเทศบาล เท่านั้นที่มีส่วนสาธา ...