Browsing by Title
Now showing items 3314-3333 of 5817
-
ช่องทางการสื่อสารของเครือข่าย R2R อุบลศรีโสธรเจริญ
(โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี, 2555-07-10)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี -
ช่องว่างทางนโยบายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่องว่าง อุปสรรคและความท้าทายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) การทบทวนเอกสารข้อแนะนำน ... -
ช่องว่างและโอกาสในการควบคุมการตลาดอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทย ตามชุดข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยเรื่องการทำการตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ในเด็ก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การทำการตลาดและการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและเกลือสูงเป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพของเด็ก การประชุมสมัชชาอนามัยโลกปีพ.ศ.2553 ได้มีมติรับรองชุดข้อเสนอแนะว่าด้วยเรื่อ ... -
ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีและกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)บทความกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ของประเทศไทยและต่างประเทศ โดย นงนุช ใจชื่น และคณะ มีเนื้อหาน่าสนใจ แต่ยังขาดข้อมูลสำคัญ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมจาการควบคุมเครื่องดื่มท ... -
ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ... -
ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์: การศึกษาระยะยาวในชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)วัตถุประสงค์ 1) เพื่อค้นหาความชุกของปัญหาจิตเวชที่พบบ่อยและมีภาระโรคสูงในชุมชน เช่น โรคซึมเศร้า ประสบการณ์อาการโรคจิต ความผิดปกติพฤติกรรมการดื่มสุราและสารเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพจิต 3) ... -
ซีโรทัยป์และการดื้อยาของเชื้อซัลโมเนลล่าที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยจังหวัดตรัง พัทลุง และสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)ซีโรทัยป์ (Serotype) ของเชื้อซัลโมเนลล่า (Salmonella spp.) ที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลภายในจังหวัดตรัง พัทลุงและสงขลาจำนวน ๕๑๗ ตัวอย่าง เป็นเพศหญิง : เพศชาย เท่ากับ ๑ : ๐.๙๘ อายุตั้งแต่แรกเกิดถึง ๘๘ ... -
ญาณินทร์ เบด เตียงป้องกันและรักษาแผลกดทับ
(โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี, 2552-07-16)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 3 : R2R in Tertiary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 9 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัลดีเด่น ... -
ฐานข้อมูลกลางเพื่อการกำหนดกลไกการกำหนดราคาและกลไกการจ่าย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ... -
ฐานข้อมูลการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ : การพัฒนาและการใช้ประโยชน์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การประเมินเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์เป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับผู้กำหนดนโยบายในการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามปัญหาในการเข้าถึงงานวิจัยและความรู้ความเข้าใจในงานด้านการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ ... -
ฐานข้อมูลจีโนมของเชื้อก่อโรคประจำถิ่น Pythium Insidiosum เพื่อการศึกษาความหลากหลายทางพันธุศาสตร์และโปรตีนที่ไม่ทราบหน้าที่ สำหรับการค้นหากระบวนการใหม่ของเซลล์ การก่อโรค และการวินิจฉัยและการรักษาการติดเชื้อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)เชื้อ P. insidiosum เป็นเชื้อในกลุ่ม oomycetes ที่สามารถก่อโรค pythiosis ในคนและสัตว์ มีรายงานการพบโรคนี้มากขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีโรค pythiosis ชุก การวินิจฉัยทำได้ยาก การรักษายังเป็นปัญหาเนื่องจากไม่ม ... -
ฐานข้อมูลภูมิทัศน์จีโนมของมะเร็งลำไส้ใหญ่ชาวไทยเพื่อการแพทย์แม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ปัจจุบันเทคโนโลยีการศึกษาการแสดงออกของยีนสามารถแบ่งมะเร็งลำไส้ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ (consensus molecular subtypes, CMS) ซึ่งเป็นแนวทางในการศึกษากลไกการเปลี่ยนแปลงมะเร็งลำไส้ รวมถึงการมุ่งเน้นเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ ... -
ฐานคติของแพทย์และสถาบันการแพทย์
(2537)บทความนี้ได้นำเสนอในการประชุมวิชาการเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 4 "สังคมวัฒนธรรมกับสุขภาพ" ระหว่างวันที่ 24-27 พฤษภาคม 2537 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ เป็นเสมือนกระจกเงาส่องให้กับวิชาชีพแพทย์ การดูตัวเองในกระจ ... -
ฐานคติเรื่องเพศวิถีในนโยบายเรื่องโรคเอดส์ของรัฐไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)แบบแผนการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทยที่การแพร่กระจายของโรคเป็นไปโดยผ่านการร่วมเพศ/มีเพศสัมพันธ์ ทำให้แนวนโยบายเอดส์เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องเพศของคนในสังคม ซึ่งมาตรการหลักที่กระทำอย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องของการพยายามทำ ... -
ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต เป็นผลงานการศึกษาชีวิตของคนไทยที่ดำรงชีพซ่อนเร้นอยู่ในมุมมืดของสังคมที่ยากกว่าคนส่วนใหญ่จะเข้าใจได้ สารคดีเชิงวิเคราะห์สังคมเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและตระหนักในความเป็นมนุษย์ของคนเหล่านี้ ... -
ดอกไม้ในพายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อ เรียนรู้รับมือความรุนแรงทางสังคมและสุขภาพในชุมชนอย่างเท่าทัน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.30 ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี -
ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการผลิตซ้ำของความรุนแรงและรูปแบบการต่อต้านขัดขืนของผู้ถูกกระทำเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมุ่งตอบคำถามที่สำคัญคือ การผลิตซ้ำดำรงอยู่ในบร ... -
ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาผ่านมุมมองประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว
(สถานีอนามัยนาเกลือ, 2552-07-16)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R ที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม ... -
ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ... -
ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ...