Now showing items 3350-3369 of 5660

    • ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ 

      ศิวิไลช์ วนรัตน์วิจิตร; Civilaiz Wanaratwichit; อรวรรณ กีรติสิโรจน์; Orawan Keeratisiroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      หนังสือ ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาชุมชนในการสร้างสรรค์อุปกรณ์คนพิการที่ช่วยเหลือในการฟื้นฟู ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว ช่วยเหลือในการทำงาน จากการสำรวจข้อมูลอุ ...
    • ทักษะการใช้ขาเทียมและคุณภาพชีวิตของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 

      จิณณ์ฐวัตน์ ใจพงษ์; Jinthawat Jaipong; พรพรรณ์ สมบูรณ์; Pornpun Somboon; นพดล เจนอักษร; Nopadol Chenaksara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความแตกต่างของทักษะการใช้ขาเทียมเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระดับการสูญเสียขาของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 2) ความแตกต่างของคุณภาพชีวิตเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระ ...
    • ทัศนคติ อุปสรรค และแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการประยุกต์หลักความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขในเวชปฏิบัติของแพทย์ไทย 

      วิน เตชะเคหะกิจ; รุ่งโรจน์ ทรัพย์สุนทร; ณัฐวุฒิ ช่วยหอม; มัลลิกา บุญเนียม; นลัท ยิ่งทวีวัฒนา; พริมรตา ชุมศรี; Win Techakehakij; Rungrote Subsoontorn; Nutthawut Chuaihom; Mallika Bunneum; Nalat Yingtaweewattana; Primrata Chumsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์เป็นสิ่งที่ถูกคำนึงถึงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเป็นหลักการหนึ่งที่ช่วยในการวางแผนการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ใ ...
    • ทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพแก่คนต่างด้าวและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 

      อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาปัจจัยทำนาย (Descriptive Predictive Design) ใช้วิธีรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเชิงปริมาณเป็นการศึกษาทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพคนต่างด้าว เปรียบเทียบท ...
    • ทัศนคติต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตามมิติด้านสาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ และด้านความมั่นคงของประเทศ 

      ยงยุทธ แฉล้มวงษ์; Yongyuth Chalamwong; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit; สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์; Srawooth Paitoonpong; กัญญาภัค เงาศรี; Kanyaphak Ngaosri; ขวัญกมล ถนัดค้า; Kwankamon Thanadkah; ราตรี ประสมทรัพย์; Ratree Prasomsup; อัจฉรียา ตันมันทอง; Achareeya Tunmuntong; สุนีย์ แซ่คู; Sunee Sae-Khoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09-14)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ให้ความสำคัญที่จะพัฒนาแนวทางการจัดการและปรับปรุงระบบหลักประกันและบริการทางสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยอาศัยองค์ความรู้และข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นฐานสู่การพัฒนาตามแผนงานวิจัย ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...
    • ทัศนคติและระดับความมั่นใจในการทำงานนิติเวชศาสตร์ของแพทย์ทั่วไปในภาคใต้ตอนบน 

      สุรศักดิ์ วิจิตรพงศ์จินดา; Surasak Vijitpongjinda; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; Apichai Wattanapisit; อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; มุกดาวัลล์ สุขัง; Mukdawan Sukhang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      งานนิติเวชศาสตร์ในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของแพทย์ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ งานด้านการชันสูตรพลิกศพและงานนิติเวชคลินิก ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและ ...
    • ทัศนะต่อการตรวจคัดกรองโรค 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
    • ทางทะลุติดต่อช่องปากกับโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้ม 

      ปารยะ อาศนะเสน; Paraya Assanasen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ฟิสตุลา คือ ทางทะลุติดต่อระหว่างอวัยวะกลวง 2 อวัยวะ ที่มีเยื่อบุผิวปกคลุม ตามธรรมดาโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้มและช่องปาก ไม่มีทางติดต่อถึงกัน เมื่อเกิดพยาธิสภาพหรือความผิดปรกติจะทำให้มีทางทะลุติดต่อระหว่าง 2 อวัยวะดังกล่าวได้ ...
    • ทางสองแพร่ง (Dilemmas) ประเด็นจริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์สาธารณสุข 

      อรทัย รวยอาจิณ (2541)
      โดยทั่วไปในการทำวิจัย สิ่งที่นักวิจัยมักจะให้ความสำคัญมากที่สุดก็คือ ความถูกต้องตามหลักระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) และการบริหารงานวิจัยไม่ให้เกิดข้อบกพร่องเพื่อให้ผลการวิจัยสมบูรณ์มากที่สุด ดังนั้น บางครั้งจึ ...
    • ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      สมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์ (2541)
      สถานการณ์ทางสองแพร่งของผู้ต้องขัง (Prisoner's Dilemma) ในบริบทของการจัดหาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขในบทความนี้ หมายถึง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดหาทรัพยากรของสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขต่ ...
    • ทางเลือกการดำเนินการสิทธิประโยชน์เสริม: ข้อค้นพบจากงานวิจัย ประกันการดูแลระยะยาวแบบเสริม 

      รักชนก คชานุบาล; Rakchanok Karcharnubarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...
    • ทางเลือกของการบริหารจัดการคลินิกชุมชนอบอุ่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-30)
      เหตุการณ์การยกเลิกสัญญาคลินิกชุมชนอบอุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในช่วงปลายปีงบประมาณ 2563 อันเป็นผลมาจากการตรวจพบความผิดปกติของการเบิกจ่ายในระบบของ สปสช. ทำให้เกิดคำถามสำคัญว่าจะ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบาย เรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-07)
      ผลการรักษาหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์จากการรับบริการทางด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือความประมาทของผู้ให้บริการทางการแพทย์ก็ตาม นำมาซึ่งความสูญเสียและความขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้การรักษา ซึ่งมีผลกร ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายเรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      อาการไม่พึงประสงค์จากการรับบริการสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเหตุสุดวิสัยหรือจากความประมาทของผู้ให้บริการก็ตามนำมาซึ่งความสูญเสีย และความขัดแย้งระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการรักษา และมีผลกระทบต่อระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข; Praboromarajchanok Insititute; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      รายงานการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ เรื่องทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ ในสองทศวรรษหน้าการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตของระบบสาธารณสุขซึ่งจะเชื ...
    • ทางเลือกในการจัดสรรงบประมาณตามกลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; โรงพยาบาลสวนปรุง; Saunprung Hospital (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยในปัจจุบันมีการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในทางจิตเวชด้วยวิธีกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis related group: DRG) ซึ่งเมื่อนํามาใช้กับกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชพบว่ามีจุดอ่อนหลายประการ เป็นต้นว่าการที่ DRG ไม่สะท้อนการ ...