• บริหารและจัดการงานวิจัยเพื่อไปถึงเป้าหมายอย่างสัมฤทธิ์ผล 

      ณัฐิญา ศิลปอนันต์; Nattiya Sillapa-anan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม “เปิดพื้นที่วิจัยระบบสุขภาพ สู่การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์” และประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 ในวันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 8.30–16.30 น. ณ โรงแรมอัศวิน ...
    • บัญชีข้อมูลยาและรหัสยามาตรฐานไทย 

      วริทธิ์นันท์ ศุภารักษ์สืบวงศ์; Warithnan Suparaksuebwong; วรนันท์ สาลียงพวย; Woranan Saleeyongpuay; กิตติ อัคควัฒนกุล; Kitti Akkawattanakul; พิรญาณ์ สายชล; Piraya Saichol; บุศรา จินตวง; Butsara Chintuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2556 คณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน ได้มอบหมายให้ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) (ปัจจุบันคือ ...
    • บัญชีข้อมูลและรหัสมาตรฐานการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ไทย 

      คิดคม สเลลานนท์; Kidkom Salelanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2555 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้เริ่มแผนงานวิจัยและพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ และได้จัดตั้งศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) (ปัจจุบันคือ สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)) ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ในปีหนึ่งๆ ประชากรในประเทศของเราต้องจ่ายเงิน เพื่อการรักษาพยาบาลตนเองไปมากน้อยเพียงใด? อาจมีผู้สงสัยว่าเมื่อเราจ่ายภาษีแล้ว ทำไมเรายังต้องมารับภาระในการจ่ายเงินเพื่อซื้อประกันสุขภาพจากบริษัทเอกชนอีก คำถามเหล่านี้ทำให้ต้อ ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537 

      อดิศวร์ หลายชูไทย; Adit Laichoothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิพรรณ ประจวบเหมาะ รูฟโฟโล; จิปราณี วาศวิท; ดวงกมล วิมลกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) กำหนดคำนิยามรายจ่ายสุขภาพอันเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย 2) พัฒนาคู่มือระเบียบวิธีการเก็บข้อมูล การประมาณการรายจ่ายสุขภาพที่จ่ายโดย ultimate source of finance ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537-2544 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      ผลการจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ ระยะที่ 3 พบว่า รายจ่ายสุขภาพทั้งหมด (Total health expenditure-THE) ของประเทศไทยปีงบประมาณ พ.ศ. 2544 มีมูลค่า ณ ราคาประจำปีเท่ากับ 170,203 ล้านบาท (รวมการสะสมทุน) รายจ่ายสุขภาพของประเ ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2539 และ 2541 

      สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วัฒนา สุวรรณแสง จั่นเจริญ; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; จิตปราณี วาศวิท (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2539 และ 2541วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพ-แห่งชาติให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น มีการกำหนดคำนิยามรายจ่ายสุขภาพและพัฒนาคู่มือระเบียบวิธีการ-เก็บข้อมูล การประมาณการรายจ่ายสุขภา ...
    • บัญญัติ 10 ประการ ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ป้องกันหลอดเลือดตีบ & ลดอัตราการตัดขา 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-22)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย อ่านฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4344
    • บันทึกการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษโบทูลินัม จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2549 

      ธำรง หาญวงศ์; Thamrong Hanwongsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2549 ในพื้นที่หมู่ 2 หมู่ 4 หมู่ 5 และหมู่ 11 ของตำบลเชียงแรง ตำบลสบบง ตำบลภูซาง กิ่งอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีผู้ป่วยเกิดอาการอาหารเป็นพิษหลังจากกินลาบเนื้อเก้งดิบ 69 คน จากผู้ที่มีประวัติกินเนื้อเก้ง ...
    • บันทึกการเสวนาสัญจร เพื่อกระเทาะความคิดใส่บ่อพักความรู้ นำไปสู่การผ่าตัดวิถีชีวิตชุมชนชนบท 

      คณะทำงานวิชาการสนับสนุนการประสานงานนโยบายระบบบริหารและบริการสาธารณสุข (2538)
      มนุษย์กำลังถูกการพัฒนาแบบตะวันตกดึงห่างออกจากวิถีชีวิตเดิม และห่างออกจากสิ่งแวดล้อมมากขึ้นทุกที บทความพิเศษฉบับนี้เป็นบันทึกเสวนาสัญจรที่นำท่านกลับไปสัมผัสกับวิถีชีวิตชุมชนที่เต็มไปด้วยสติปัญญาอันน่าเคารพ และรับฟังเป็นอย่างยิ่ง
    • บันทึกของนายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-01)
      นายก้อนดินเป็นเด็กหนุ่มที่ใฝ่รู้ สามารถใช้โอกาสเหตุการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตในการเรียนรู้ ในครั้งนี้เขาได้ทราบเกี่ยวกับแนวทางการสำรวจภาวะสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งมีการดำเนินการโดยทีมงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข โดยผ่านเรื่อ ...
    • บันทึกของผู้ป่วยโรคมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม 1 ราย โรงพยาบาลหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 

      สงวนชัย เจนศิริสกุล; Sanguanchai Jenesirisakule (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม พบไม่บ่อย และวินิจฉัยโรคยาก มักวินิจฉัยโรคได้โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรม และต้องอาศัยห้องปฏิบัติการสำหรับเพาะเชื้อ เพื่อตรวจความไว และภาวะดื้อยา ซึ่งมีเฉพาะในโรงเรียนแพทย์ ...
    • บันทึกของเด็กชายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-07)
      วรรณกรรมบันทึกของเด็กชายก้อนดิน เป็นการแปรรูปข้อมูลสถานะสุขภาพของคนไทย ที่รวบรวมและแปลความโดยนักวิชาการหลากหลายสาขาจำนวนหนึ่งให้มีรูปแบบการนำเสนอที่สามารถสื่อความเข้าใจกับคนไทยทั่วไป โดยเอื้ออำนวยให้ใช้เวลาสั้นๆ ...
    • บันทึกทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ : แนวคิดวิธีบันทึกและการใช้ประโยชน์ 

      ประคิณ สุจฉายา; Phakin Sutchaya; วิจิตร ศรีสุพรรณ; โรจนี จินตนาวัฒน์; กุลดา พฤติวรรธน์; ศรีมนา นิยมค้า; Wichit Srisuphan; Rodchanee Chintanawat; Kulada Phruek; Srimana Niyomkha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      บันทึกทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ เป็นการสื่อสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ระหว่างพยาบาลและผดุงครรภ์ และบุคลากรอื่นในทีมสุขภาพเกี่ยวกับอาการ และอาการแสดงของผู้ป่วย ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ การปฏิบัติกิจกรรมการพย ...
    • บันทึกเด็กชายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2545)
    • บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขจะได้อะไร เมื่อออกนอกระบบ ก.พ. 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • บุหรี่-มะเร็งปอด การสูญเสียสุขภาพ-ชีวิต และการสูญเสียเศรษฐกิจ 

      ธีระ ลิ่มศิลา; Teera Limsila (2537)
      แม้ว่าประเทศไทยจะประสบความสำเร็จอย่างสูงในเรื่องการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ แต่ประเทศไทยก็ยังมีผู้สูบบุหรี่กว่า 10 ล้านคน และยังมีผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 5 แสนคน บทความนี้เป็นการทบทวนและวิเคราะห์างวิชาการ ...
    • บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ...
    • บูรณาการระบบข้อมูลสุขภาพ: คานงัดของระบบบริการสุขภาพที่เน้นคุณค่า 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • บูรณาการเบาหวานด้วยกันไปทั้งอำเภอ จากเบาหวาน สู่การขยายผล 

      ศิรดา ภูริวัฒนพงศ์ (โรงพยาบาลมวกเหล็ก จ.สระบุรี, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง คุณค่า R2R เบาหวาน สู่การขยายผล วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-14.30 น. ณ Jupiter12 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี