Now showing items 3874-3893 of 5668

    • ผลกระทบของสื่อดิจิทัลที่มีผลต่อพัฒนาการมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 

      นนทสรวง กลีบผึ้ง; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasadatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; Nonthasruang Kleebpung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ปัจจุบันเด็ก เยาวชน และครอบครัวสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์พกพาส่วนตัว และเลือกใช้สื่อเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้งานและเปิดรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างไม่มีขีดจำกัดและยากต่อการควบคุม ...
    • ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่องานส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตา ...
    • ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ 30 บาทฯ ที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่2 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค” ที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน โดยเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยา ...
    • ผลกระทบของโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัวในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Saenkong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในปี 2559 รัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น มีการจัดบริการ LTC โดยมีทีมหมอครอบครัวและศูนย์ดูแลระยะยาว ...
    • ผลกระทบความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานศิลปหัตถกรรมโลหะภูมิปัญญาท้องถิ่น กรุงรัตนโกสินทร์ 

      วิทยา เมฆขำ; Withaya Mekkham; วิทยา อยู่สุข; Witya Yusuk; สิน พันธุ์พินิจ; Sin Punpinit; ละอองทิพย์ มัทธุรศ; Laongthip Maturos (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การประเมินผลความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานศิลปหัตถกรรมโลหะ ที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กรุงรัตนโกสินทร์ โดยการสำรวจลักษณะประชากร สภาพปัญหา เพื่อนำมาวิเคราะห์และสร้างรูปแบบใช้ในการประเมินผลด้านความปลอดภัยทา ...
    • ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อสุขภาพ 

      ภราเดช พยัฆวิเชียร; Paradech Payupwichien; การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่ 

      มะลิวัลย์ เรือนคำ; Maliwan Rueankam; วัฒนารี อัมมวรรธน์; Watthanaree Ammawat; ศุภลักษณ์ เข็มทอง; Supalak Khemthong; พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์; Pornpen Sirisatayawong; พรทิพย์พา ธิมายอม; Pornthippa Thimayom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      งานวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาต่อรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบจากต่างประเทศมาใช้ในบริบทสังคมไทย โดยสำรวจความคิดเห็นจากนักกิ ...
    • ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตและรูปแบบการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดที่ตอบสนองต่อยุคชีวิตวิถีใหม่ 

      มะลิวัลย์ เรือนคำ; Maliwan Rueankam; พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์; Pornpen Sirisatayawong; ศุภลักษณ์ เข็มทอง; Supalak Khemthong; วัฒนารี อัมมวรรธน์; Watthanaree Ammawat; พรทิพย์พา ธิมายอม; Pornthippa Thimayom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-29)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ต่อการทำกิจกรรมการดำเนิน ...
    • ผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อผลการดำเนินงานวัณโรคในประเทศไทย 

      อุษณีย์ อึ้งเจริญ; Usanee Ungcharoen; พิริยา เหรียญไตรรัตน์; Piriya Rientrirat; วรรณนิศา เทพรงค์ทอง; Wannisa Theprongthong; แมกา, ไซฟุดดีน; Maeka, Saifuddeen; ศิวรัตน์ นามรัง; Siwarat Namrang; ทิพประภา อมราสกุลทรัพย์; Thipprapa Amarasakulsap; ไพฑูรย์ บุญตวง; Phaithoon Boonthoung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2562 ณ ประเทศจีน หลังจากนั้นมีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ประกาศพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ...
    • ผลกระทบจากหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; สุกัญญา เจียระพงษ์; อัญชลี จิตรักนที; สุวิมล ฉกาจนโรดม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวิจัยเป็นการศึกษาผลกระทบที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญของเภสัชภัณฑ์ที่เป็นยาใหม่อันเนื่องมาจากมาตรการเชิงบริหารที่ให้สิทธิผูกขาดทางการตลาดในการจำหน่วยยาต้นแบบบางชนิดที่ไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราช ...
    • ผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; วราภรณ์ ปวงกันทา; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Nusaraporn Kessomboon; Surasit Lochid-amnuay; Waraporn Poungkantha; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านงบประมาณ ที่กำหนดให้ร้านยาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร 

      ประภัสสรา พงศ์พันธุ์พิศาล; Prapatsara Pongpunpisand; มนทยา สุนันทิวัฒน์; Montaya Sununtiwat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจิตของประชาชนต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดเชื้อโคโรนาไวรัส (โควิด-19) เขตสุขภาพที่ 5 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; Amporn Benjapolpitak; ธิติ แสวงธรรม; Thiti Sawangtham; ศรุตพันธุ์ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา; Sarutphan Chakkraphan na Ayutthaya; รุจิรา เข็มเพ็ชร; Rujira Kemphet; รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; จิรภัทร กัลยาณพจน์พร; Jiraphat Kanlayanaphotporn; ณัฐพงศ์ กาญจนะโกมล; Nattapong Kanchanakomala; อัญญา ปลดเปลื้อง; Unya Plodpluang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาเรื่อง ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID-19) เขตสุขภาพที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงลึกผลกระทบต่อสุขภาพจิตและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 5 จากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; สุพล ลิมวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12-20)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและมีความสำคัญทั้งการติดเชื้อในโรงพยาบาลและการติดเชื้อในชุมชน การติดเชื้อในโรงพยาบาลมักเกิดจากการติดเชื้อที่ดื้อยาต้านจุลชีพ การดื้อยาต้านจุลชีพของ Acinetobactor baumannii, ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ...
    • ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรไทย 

      ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; จอมขวัญ โยธาสมุทร; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย 

      ไพบูลย์ พิทยาเธียรอนันต์; รักมณี บุตรชน; จอมขวัญ โยธาสมุทร; วิชัย เอกพลากร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; เนติ สุขสมบูรณ์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Paiboon Pitayatienanan; Rukmanee Butchon; Jomkwan Yothasamut; Wichai Aekplakorn; Yot Teerawattananon; Naeti Suksomboon; Montarat Thavorncharoensap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ภาวะน้ำหนักเกิน (Overweight) และโรคอ้วนเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังสำคัญหลายชนิดที่ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก ความชุกของโรคอ้วนในประชากรไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2547 ภาวะน้ำหนักและโรคอ ...
    • ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chudchawal Juntarawijit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การทำเหมืองทองคำแบบใหม่ได้สร้างความกังวลให้แก่สาธารณชนในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ บทความนี้จะนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำเหมืองทองคำแบบใหม่และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ ...
    • ผลกระทบต่อสุขภาพจากการใช้สารเคมีอันตรายในภาคการเกษตรไทย 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kedsomboon; นาถธิดา วีระปรียากูร; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Natteeda Verapheyakun; Phatapong Kedsomboon (มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2547)
      จากข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตรในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง ซึ่งจากการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ในเดือนสิงหาคม 2546 มีข้อเสนอให้รัฐบาลห้ามนำเข้าสารเคมีอันตราย กลุ่ม 1a และ ...