• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 3930-3949 จาก 5899

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ประเมินนโยบายจังหวัดยะลา ชาวยะลาสุขภาพดี ตั้งแต่ก่อนเกิดจากครรภ์มารดาสู่เชิงตะกอนอย่างมีศักดิ์ศรี 

      เพลินพิศ พงศ์ปริญญากุล (สาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ประเมินผลกระทบชุดโครงการที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์; Somkiat Tangkitwanich; ศักดิ์สินี กลิ่นสุนทร; ธราธร รัตนนฤมิตศร; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Develoment Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      เอกสารชุดนี้เป็นการประเมินชุดโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้แก่ ชุดโครงการปฏิรูประบบสุขภาพ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการสร้า ...
    • ประเมินผลงานสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์; Somkiat Tangkitwanich; ศักดิ์สินี กลิ่นสุนทร; ธราธร รัตนนฤมิตศร; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Develoment Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานการศึกษานี้เป็นการประเมินผลงานของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประกอบด้วย การประเมินผลกระทบและประโยชน์ที่เกิดจากการดำเนินงานของสวรส. การประเมินการดำเนินงานตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด การบริหารจัดการและจุดอ่อนจุดแข็งของสวรส. ...
    • ประเมินผลนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพ : ความร่วมมือของไตรภาคีในการสร้างโรงพยาบาลตำบล 

      พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี; Pongpit Vongmanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การดำเนินงานครั้งนี้เป็นประเมินผลการสร้างนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพโดยมุ่งเน้นการสร้างโรงพยาบาล ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างชุมชนที่เข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่ยั่งยืน วิธีการดำเนินงานแบ่งเป็น 3 ระยะ ...
    • ประเมินผลศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ดวงพร เฮงบุณยพันธ์; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; วิไลลักษณ์ วิสาสะ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      โครงการศึกษาประเมินผลศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานครการศึกษาประเมินผลศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานครนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางการพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อประเมินกระบวนการ ...
    • ประโยชน์ของการตรวจวิธีแป๊ป เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งคอมดลูกในสตรีที่ผลการตรวจวิธีวีไอเอ เป็นบวก 

      ไชยพร ส่งประเสริฐเจริญ; Chaiyaporn Songphasertcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      มะเร็งคอมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากในสตรีไทย ได้มีการคัดกรองคอมดลูกระยะก่อนเป็นมะเร็งด้วยการตรวจวิธีแป๊ปมานานกว่า 40 ปี แต่ความครอบคลุมไม่ประสบผลสำเร็จ ระยะหลังจึงนำวิธีป้ายปากมดลูกด้วยกรดน้ำส้มเจือจางและตรวจด้วยตาเปล่า (วีไอเอ) ...
    • ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18] Florbetapir ([F-18]-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ (รายงานวิจัยปีที่ 2) 

      ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; อรสา ชวาลภาฤทธิ์; Orasa Chawalparit; รุจพร ชนะชัย; Rujaporn Chanachai; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร; Kuntarat Arunrungvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-11)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประโยชน์ของการตรวจการสะสมของ Aβ ในสมองโดยอาศัยการตรวจเพทสแกนด้วยสารเภสัชรังสีในประชากรตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ป่วย Alzheimer’s disease, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของการรู้คิดสมอง และผู้สูงอายุปกติ ...
    • ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18]Florbetapir ([F-18]-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ (ปีที่ 3) 

      ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; รุจพร ชนะชัย; Rujaporn Chanachai; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร; Kuntarat Arunrungvichian; อรสา ชวาลภาฤทธิ์; Orasa Chawalparit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-05)
      อุบัติการณ์ของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตทั้งตัวผู้ป่วย ครอบครัวและจะเป็นปัญหาที่สำคัญของเศรษฐกิจ สังคมและการพัฒนาประเทศ การวินิจฉัยอาการแ ...
    • ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย F-18 florbetapir (F-18-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ 

      ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; อรสา ชวาลภาฤทธิ์; Orasa Chawalparit; รุจพร ชนะชัย; Rujaporn Chanachai; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร; Kuntarat Arunrungvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11)
      ภูมิหลังและที่มา อุบัติการณ์ของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตทั้งตัวผู้ป่วย ครอบครัว และจะเป็นปัญหาที่สำคัญของเศรษฐกิจ สังคมและการพัฒนาประเทศ ...
    • ประโยชน์ของการศึกษาพันธุกรรมเชิงโมเลกุลและการคัดกรองสมาชิกครอบครัว สำหรับการวินิจฉัยโรค การตรวจคัดกรองในครอบครัว และค้นหายีนใหม่ของการเกิดโรคหัวใจที่มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว หรือคล้ายคลึงกับยีนเดี่ยวในประชากรไทย 

      อภิชัย คงพัฒนะโยธิน; Apichai Khongphatthanayothin; แรกขวัญ สิทธิวางค์กูล; Rekwan Sittiwangkul; ศุภลัคน์ กาญจนอุทัย; Supaluck Kanjanauthai; ประสิทธิ์ เผ่าทองคำ; Prasit Phowthongkum; ศริญญา ภูวนันท์; Sarinya Puwanant; อภิญญา พราหมณี; Apinya Bharmanee; วรวรรณ จิตต์ธรรม; Worawan Jittham; สุภาพร โรยมณี; Supaporn Roymanee; อังควิภา ทรัพย์รุ่งเรือง; Ankavipar Saprungruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      วัตถุประสงค์: เพื่อหาสาเหตุทางพันธุกรรมในผู้ป่วยโรคหัวใจที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว สร้างฐานข้อมูลของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ตรวจคัดกรองโรคในญาติของผู้ป่วย รวมถึงหาผลลัพธ์ (yield) ของการตรวจในทั้งผู้ป่วยและญาติและหาความคุ้มทุนของการต ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • ประโยชน์คุ้มค่าของการตรวจเลือดในเด็กชักจากไข้ภายใน 24 ชั่วโมง 

      ไพโรจน์ บุญลักษณ์ศิริ (โรงพยาบาลหาดใหญ่, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter4-5 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • ประโยชน์และโทษที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้กัญชาในทางการแพทย์และการเปิดเสรีการใช้กัญชา 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      กัญชาเป็นพืชที่มีสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและที่ก่อให้เกิดการเสพติดซึ่งมีทั้งประโยชน์และโทษหลายประการ กัญชาถูกจัดไว้ในรายการยาเสพติดตามกฎหมายของหลายๆ ประเทศ รวมถึงประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2558-2559 มีความเคลื่อนไหวจากหน่วยงานขอ ...
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • ปรัชญา "30 บาทรักษาทุกโรค" กับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ใกล้กันมากขึ้น หรือ ! ยิ่งห่างกันคนละทาง 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ปรับสภาพบ้านกับการฟื้นฟูชีวิต 

      ไพฑูรย์ ไชยนาเมือง (โรงพยาบาลกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ปรากฏการณ์ความขัดแย้งในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ และทันตาภิบาล นักเรียนทุนอบต. 

      ศิริพร เหลืองอุดม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)
    • ปริทัศน์การรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในสังคมไทย 

      วิวิธ วุฒิวีรวรรธน์; Wiwit Wutiweerawat; วราภรณ์ พันธุ์พงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ปริทัศน์การวิเคราะห์ภาระจากโรคทั่วโลกเทียบกับภายในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong (หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2541)
      The Global burden of disease This report consists of three parts. The first part summarizes the document prepared by Murray CJL & Lopez AD 1996. The second part links their findings with a report from Smutharaks et al. ...
    • ปริมาณของ ORS ที่ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะขาดน้ำรับได้ เปรียบเทียบระหว่างการให้ในรูปแบบของสารละลายและแบบแช่แข็ง 

      สุภาณี สุขะนาคินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV