Now showing items 4084-4103 of 5660

    • พัฒนาการของแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปและระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไปในประเทศต่างๆ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (2538)
      การพัฒนาด้านระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไป และการจัดบริการขั้นต้นในประเทศต่างๆ มีความแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับพื้นฐานด้านต่างๆ ของแต่ละประเทศ บทความนี้ผู้เขียนได้เห็นภาพระหวา่งประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาในด้านของการ ...
    • พัฒนาการทางนโยบายของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana; สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล; Suranee Pipatrotchanakamol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      กระแสการปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพในประเทศไทยมีความเข้มข้นสูงมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สอดคล้องกับกระแสที่เกิดขึ้นทั่วโลก เนื่องจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนไทยสูงขึ้นมากถึงปีละ 2-3 แสนล้านบาทและมีอัตราเ ...
    • พัฒนาการและการจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการ กรณีศึกษาเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ฉันทนา พานทอง (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-06-06)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการของเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการของเขตเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา และเพื่อศึกษาการจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการของเขตเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา
    • พัฒนาการและข้อเสนอทศวรรษที่สี่การสาธารณสุขมูลฐานไทย 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; ศุภลักษณ์ เลิศมโนรัตน์; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)
      เนื้อหาหลักของเอกสารประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการทบทวนแก่นสาระของสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนว่า โดยประวัติศาสตร์ความเป็นมาแล้ว แนวคิดของสาธารณสุขมูลฐานเปรียบได้กับคำอธิบายว่าด้วยอริยสัจของสุขภาพ ...
    • พัฒนาคุณภาพบริการ มีอะไรใหม่ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      ผู้รายงานไปรับรู้ว่าผรั่งกำลังคิดอะไรกันในเรื่องคุณภาพ จึงนำมาเล่าสู่กันฟัง ทำให้เห็นความสำคัญที่ผู้บริหารจะต้องแสวงหาแนวคิดใหม่ๆ มาทดลอง ความสำคัญที่ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนจะพัฒนาคุณภาพของตนเอง และความสอดคล้องของแนวคิดของศ ...
    • พัฒนาดัชนี Diabetes risk score 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekphakorn (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการประเมินความเสี่ยงต่อเกิดเบาหวาน จากแบบสอบถามและการวัดดัชนีความอ้วน ใช้ข้อมูลการศึกษาทางระบาดวิทยาในกลุ่มพนักงานไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (EGAT study) ในการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของการเกิ ...
    • พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุคำตอบอยู่ที่ชุมชน 

      วัชริน สินธวานนท์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatan Thasanawiwat; ราม รังสินธุ์; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันได้ดําเนินงานในการพัฒนาระบบการวิจัยอย่างต่อเนื่องภายใต้โครงการ “การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2” ซึ่งเป็นลักษณะการสนับสนุนทุนร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการว ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 3 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วสี ดุลวรรธนะ; ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      การดําเนินงานของเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักทั้งจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ภายใต้โครงการ "พัฒนาระบบการจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3” และจากกลุ่มสถาบันแพทยศาส ...
    • พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ 

      สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; ณัฐเศรษฐ มนิมนากร; Nuttaset Manimmanakorn; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-21)
      การวิจัยเรื่อง พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ หรือ Development of Practical Care Plan for Stroke Patients in Multi-Level Hospital มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ต้องการพัฒนารูปแ ...
    • พัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก 

      พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ; Pisit Piriyapun (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • พันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552 

      ฉัตรวรัญ องคสิงห์; Chatwarun Ongkasing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้แนวคิดพันธกิจสำหรับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) ที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายในอนาคตในระยะ 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2548-2552) เพื่อนำผลที่ได้มาเสนอเป็นกรอบทางเลือกเบื้องต้นให้กับคณะกรรมการ ...
    • พินิจวิกฤติ โควิด 19 : อคติ อารมณ์ ประสบการณ์และความหวัง 

      นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ; Narupon Duangwises; พฤกษ์ เถาถวิล; Preuk Taotawin; ปาณิภา สุขสม; Panipa Suksom; ชัชชล อัจนากิตติ; Chutchon Ajanakitti; กุลระวี สุขีโมกข์; Kunravee Sukhimoke; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai; บำเพ็ญ ไชยรักษ์; Bampen Chaiyarak; ณัฐกร วิทิตานนท์; Nuttakorn Vititanon; จรรยา ยุทธพลนาวี; Janya Youthapolnavee; วิภาวดี โก๊ะเค้า; Wiphavadee Kokhao; สราวุธ ทับทอง; Sarawut Thupthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      หลายคนอาจเคยรับรู้เกี่ยวกับโรคระบาดที่น่าสะพรึงกลัวที่เคยเกิดขึ้นในอดีต เช่น การระบาดของไข้ทรพิษที่ทำให้ผู้คนต้องอพยพย้ายเมืองหรือทิ้งหมู่บ้าน เรื่องเล่าของผู้ป่วยที่มีผิวหนังพุพองด้วยฝีหนอง นอนป่วยหรือตายบนเตียงที่ปูด้วยใบตอง ...
    • พิษภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 

      ศักดา ศรีนิเวศน์; Sakda Srinives (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ในปี พ.ศ. 2546 สมัชชาสุขภาพ ทั้งสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ และสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ได้ให้ความสนใจเรื่อง การเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพ เพราะการใช้สารเคมีการเกษตรอย่างไม่รู้คิด กำลังบั่นทอนสุขภาพของคนไทยลงไปทุกที ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะผู้ผลิต ...
    • พุทธกระบวนทัศน์เพื่อสุขภาพและการเยียวยาในสังคมไทย 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paunil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้สำรวจพระคัมภีร์พื้นฐานในพุทธศาสนาเพื่อดูว่าเมื่อพิจารณาพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นกระบวนทัศน์แล้ว กระบวนทัศน์พุทธศาสนาจะมีหลักการอย่างไร มีความแตกต่างจากกระบวนทัศน์อื่นอย่างไร ภายใต้กระบวนทัศน์นี้มีทัศนะต่อสุขภาพแล ...
    • พ่อแม่เข้าใจ จุดเริ่มต้นใหญ่ของการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      เด็กโรคสมาธิสั้น จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากครอบครัวอย่างเข้าใจ ดังนั้น จุดเริ่มต้นสำคัญของการแก้ปัญหานี้คือ พ่อแม่ผู้ปกครอง ที่ควรมีทัศนคติต่อเด็กสมาธิสั้นอย่างถูกต้อง เพื่อลดผลกระทบจากจุดอ่อน และช่วยเสริมการพัฒนาจุดเด่น ...
    • ฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคกับฟันตกกระ และการแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน ในเขตอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 

      นำพล แดนพิพัฒน์; Namphol Danpipat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาทำในช่วงเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2549 มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคกับความชุกของสภาพฟันตกกระและฟันผุ ในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาในเขตอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ...
    • ภัยพิบัติ ความทรงจำและความหวัง : พลังน้ำใจในมหาอุทกภัย 2554 

      บารมี เต็มบุญเกียรติ; เริงฤทธิ์ คงเมือง; อธิษฐ์ พีระวงษ์เมธา; จันทร์กลาง กันทอง; อรุณ ร้อยศรี; เริงชัย คงเมือง; บัณฑิต โชติสุวรรณ; วิษณุ วิเศษพุทธศาสน์ (สุขศาลา, 2555-10)
      การสร้างสรรค์ความรู้ของมนุษย์นั้น นอกจากการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำและสม่ำเสมอ จนสามารถเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงที่มีแบบมีแผนแล้ว มนุษย์ยังเรียนรู้จากสถานการณ์สุดโต่งหรืออุบัติการณ์ที่คาดไม่ถึง อันเป็นกรณีที่ผิ ...