Now showing items 4119-4138 of 5652

    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวี้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; อารยา ศรัทธาพุทธ; ศิริกุล มะโนจันทร์; กล่องทิพย์ มัชฌิมดำรง; ศศวรรณ ชินรัตนพิสิทธิ์; วิศรุต การุญบุญญานันท์; จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์; สุชาดา ศรีทิพยวรรณ; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; นริศรา สุรทานต์นนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี้ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนซึ่งนอนโรงพยาบาล ภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาล และมุมมองผู้ป่วย ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...
    • ภาระโรค 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ...
    • ภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชาชนไทยในปี พ.ศ. 2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      ในการวัดสถานะสุขภาพของประชาชนไทยแบบองค์รวม ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเครื่องชี้วัดภาระโรค (Burden of Disease) ของคนไทยนั้น คิดมาจากความสูญเสียที่เกิดมาจากการตายก่อนวัยอันควรและความสูญเสียจากการเจ็บป่วยหรือพิการ โดยเรามักจะเข้า ...
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      จิตร สิทธีอมร; Chirt Sitthi-Amorn; วัฒนา ส.จั่นเจริญ (วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
      ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระยะสิบกว่าปีที่ผ่านมา มีรายงานเรื่องภาระโรคของประชากรในประเทศไทยหลายฉบับที่พยายามรวบรวมข้อมูล ทั้งหมดเท่าที่พบ เช่น รายงานของคณะกรรมการระบาดวิทยาแห่งชาติ, ...
    • ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลในประเทศไทย (โครงการนำร่อง) 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pataphong Ketsomboon; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Supasit Panarunothai; Weerasak Jongsuwiwanwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่สร้างความสูญเสียให้แก่ทั้งผู้ป่วย ญาติ ผู้ให้บริการและระบบบริการสุขภาพของประเทศ เป็นสิ่งที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น แต่บางครั้งอาจจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ...
    • ภาวะปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจและการเปลี่ยนชุดสายต่อเครื่องช่วยหายใจ 

      อัมพาภรณ์ เตชธนางกูร; พรรณิภา สืบสุข; พวงทอง ศิริพานิช; สุรีย์ สมประดีกุล (โรงพยาบาลศิริราช, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 4 : R2R in Excellent center แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย 5 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัล ...
    • ภาวะผู้นำ และแบบอย่างการพัฒนาจิตใจ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti; นันทรัตน์ เจริญกุล; Nantarat Charoenkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      "ภาวะผู้นำ และวัฒนธรรมเดิม" ของ อีดิธ เครเมอร์ เป็นการเล่าถึงประสบการณ์ในการใช้ศิลปกรรมบำบัดที่โรงเรียนชาย Wiltwyck นครนิวยอร์ก ในกรณีเด็กหลายเชื้อชาติที่มีอาการจากผลกระทบจิตใจและด้อยเศรษฐานะในครอบครัวที่มีปัญหาด้านสิทธิ ...
    • ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 3 

      บุญชัย ธีระกาญจน์; Boonchai Theerakarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิผลขององค์การ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและธรรมาภิบาลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ธรรมาภิบาลและประสิทธิผลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ...
    • ภาวะผู้นำเส้นทางสู่เป้าหมาย และการรับรู้ปัจจัยเชิงสถานการณ์ที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 3 

      วุฒิพันธ์ ทานะมัย; Wuttiphan Tanamai; ภูษิตา อินทรประสงค์; Bhusita Intaraprasong; จุฑาธิป ศีลบุตร; Jutatip Sillabutra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตตรวจราชการสาธารณสุข ที่ 3 เก็บข้อมูลจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 170 คน ...
    • ภาวะพิษปลาปักเป้า 

      เปี่ยมศักดิ์ เมนุเศวต; Piamsak Menasveta; สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ปลาปักเป้าเป็นปลาเขตร้อน มีทั้งปลาทะเลและปลาน้ำจืด ในประเทศไทยพบวงศ์Tetraodontidae และ Diodontidae รวมกันประมาณ 20 สกุล ปลาปักเป้าเกือบทุกชนิดพันธุ์มีสารชีวพิษเทโทรโดทอกซินสะสมในรังไข่ ตับ ลำไส้ และผิวหนัง (มีปริมาณน้อ ...
    • ภาวะสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลบึงโขงหลง 

      ปริญญาพร เจนใจ (โรงพยาบาลบึงโขงหลง จ.บึงกาฬ, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ภาวะสุขภาพผู้หญิงไทยวัยหมดระดู 

      สุวิภา บุณยะโหตระ (2539)
      ผู้หญิงไทยส่วนใหญ่ ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของช่วงชีวิตในวัยหมดระดู ซึ่งฮอร์โมนเพศที่ลดต่ำลงมีผลต่อระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ประกอบกับวัยนี้ยังมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ...
    • ภาวะสุขภาพสตรีวัยกลางคน: ข้อเสนอเพื่อการเตรียมเข้าสู่วัยทอง 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2540)
      บทความนี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลสภาวะสุขภาพสตรีวัยกลางคนได้ภาพที่ชัดเจนดีมากในแง่ Gender-difference และการสะท้อนปัญหาสุขภาพสตรีวัยทองที่ตกต่ำกว่าชายถึงสองเท่า น่าจะเป็นสัญญาณปลุกให้วงการที่เกี่ยวข้อง เช่น สภาผู้สูงอายุ ...
    • ภาวะสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ : ทบทวนวรรณกรรม 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล; Siriporn Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      รายงานต่อไปนี้มีเป้าหมายเพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุในแง่มุมของสุขภาพอนามัย ภาวะทางประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคม สังเคราะห์ให้เห็นความเชื่อมโยงของข้อมูล ปัญหาและปฏิบัติการแก้ปัญหา โดยใช้แหล่งข้อมูลจากผลการวิจัยต่างๆ ...
    • ภาวะเลือดจางและธาลัสซีเมียเทรตในสตรีฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 

      พรวิไล อักษร; Pornwilai Aksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลังเพื่อประเมินความชุกและสาเหตุของภาวะเลือดจางและความสัมพันธ์ของธาลัสซีเมียเทรตกับกาวะเลือดจางในสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกที่โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงเดือนตุลาคม 2548 - มีนาคม ...
    • ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกินกรรมพันธุ์ 

      ปรียา ลีฬหกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกิน (hypercholesterolemia) ทีมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ จะมีอาการแสดงลักษณะเฉพาะช่วยการวินิจฉัยทำนองดูหน้า รู้โรค ให้เห็นได้โดยเฉพาะถ้าเป็นชนิดพันธุ์แท้ (homozygous familial hypercholesterolemia)คือ ...