Now showing items 4299-4318 of 5652

    • ระบบประกันสุขภาพ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข กำลังเป็นกระแสใหญ่ทั่วโลก การประกันสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของระบบบริการ บทความนี้ผู้เขียนได้ทบทวนเกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพในระดับสากลและในประเทศไทย สรุปปัญหาและทางออกไว้ด้วย
    • ระบบประกันสุขภาพ : องค์ประกอบและทางเลือก 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับประชาชนทุกคน จากการที่ได้ติดตามประเด็นที่มีการอภิปรายในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในวงการสาธารณสุข วงการนิติบัญญัติ ตลอดจนความเห็นสาธารณะ ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2540)
      บทความวิจัยเรื่องนี้ได้ศึกษาวิวัฒนาการของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยอย่างละเอียด นับแต่ปี พศ. 2534-2539 ได้สะท้อนแนวโน้มการพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไตรภาคีคือ รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง รวมทั้งประชาชนโดยรวม ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สำนักงานประกันสุขภาพ; มูลนิธิเยอรมันเพื่อการพัฒนานานาชาติ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      หนังสือ ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย เป็นการรวบรวมผลการศึกษา ทบทวนประสบการณ์การจัดระบบหลักประกันสุขภาพภายในประเทศไทย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับใช้เรียนรู้ วิเคราะห์ และวิจัยให้มองเห็นจุดอ่อน จุดแข็ง และจุดเปลี่ยนผ่านที่ ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ...
    • ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังสูงวัยบนอุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ 

      เทวิน ธนะวงษ์; Tawin Tanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      งานวิจัยนี้นำเสนอการใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลสร้างโมเดลสนับสนุนการทำงานในลักษณะระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6 ชนิด ซึ่งพัฒนาโมเดลด้วยโปรแกรมเวก้า3.6.9 โดยใช้อัลกอริธึมแบ่งกลุ่ม ...
    • ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ 

      ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศใดประเทศหนึ่ง จำเป็นจะต้องวิเคราะห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาลในประเทศนั้นๆ ด้วย เนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญที่สุดของรัฐบาล ซึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีคว ...
    • ระบบยากับสุขภาพหญิงไทย : กรณีศึกษายาคุมกำเนิด 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada Kiatying-Angsulee; สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ; กรแก้ว จันทภาษา; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ระบบยากับสุขภาพหญิงไทย กรณีศึกษายาคุมกำเนิด รายงานการวิจัยที่จัดทำในเชิงบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและสถานการณ์การใช้ยาคุมกำเนิดของไทย ภายใต้ระบบยา ตั้งแต่ขั้นตอนของการคัดเลือก การจัดหา การกระจายและการใช้ยา ...
    • ระบบยาของประเทศไทย 

      คณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบยาของประเทศไทย; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ; สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
    • ระบบยาของประเทศไทย 2563 

      คณะกรรมการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย 2563 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      หนังสือ “ระบบยาของประเทศไทย 2563” หรือ “Thai Drug System 2020” เล่มนี้ นับเป็นหนังสือรายงานสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นเป็นเล่มที่ 3 ภายหลังจากเล่มที่ 1 ที่ออกเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเล่มที่ 2 ...
    • ระบบยาของประเทศไทย บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา 

      มรกต กรเกษม; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; นิตยา แย้มพยัคฆ์ (2537)
      ระบบยาเป็นระบบย่อยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุข การวิเคราะห์ระบบยาอย่างรอบด้านโดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยชิ้นนี้ ได้ให้ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบยาและระบบสาธารณสุขของไทยในอนาคตเป็นอย่างมาก ...
    • ระบบยาในจังหวัดสงขลา 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ไพบูลย์พร; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; ยูซูฟ นิมะ; Narongsak Singhpaiboonporn; Attaporn Sornlertlumvanich; U-soop Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการศึกษาระบบยาในจังหวัดสงขลานี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาหาปัญหาในระบบยาของโรงพยาบาลในจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีขอบเขตกว้างในระบบยา ทั้งในแง่ของมูลค่าและปริมาณของยาในระบบ ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบยานั้นจะอ ...
    • ระบบราคาอ้างอิงของยาในประเทศไทย 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; นพคุณ ธรรมธัชอารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศไทยมีมูลค่าเพิ่มสูงกว่าร้อยละสิบในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยมีโรงพยาบาลเป็นแหล่งกระจายหลักของระบบการบริการด้านสุขภาพด้านยา คิดเป็นมูลค่ากว่าร้อยละ 70 ของตลาดยาแผนปัจจุบันทั่วประเทศ บริบทของระบบประก ...
    • ระบบวิจัยคลินิกสหสถาบันของประเทศ : ประสบการณ์จากเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ตอนที่ 1) 

      ปิยะทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatat Tasanavivat; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; Suthee Ratanamongkolkul; อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; ภาวิกา ปิยมาพรชัย; ลือชา วนรัตน์; เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-10)
      เป็นเอกสารวิชาการประกอบหัวข้อระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงตุ๊กตาทางความคิด ถึงระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ โดยนำเสนอผ่านหัวข้อ รูปแบบและกลไกการจัดการของระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทย ...
    • ระบบวิจัยสุขภาพกับการพัฒนาประเทศ 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Watchara Riewpaibul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-02-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 3 (Research Manager : RM)ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
    • ระบบวิจัยสุขภาพกับการพัฒนาประเทศ 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 28-30 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมแคทลียา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...
    • ระบบวิจัยและทิศทางการพัฒนาวิจัยกับยุทธศาสตร์วิจัยของประเทศไทย 

      สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ; Soottiporn Chittmittrapap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สภาวิจัยแห่งชาติ, 2559-05-14)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม HSRI Retreat หัวข้อ ระบบวิจัยและทิศทางการพัฒนาวิจัย กับยุทธศาสตร์วิจัยของประเทศไทย วันที่ 14 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องดวงกมล โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพมหานคร