Now showing items 431-450 of 5652

    • UCS กับผลกระทบต่อระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ (กรมควบคุมโรค, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • Universal coverage and its impact on reproductive health services in Thailand 

      Viroj Tangcharoensathien; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon; Nanta Auamkul; Pongpisut Jongudomsuk (International Health Policy Program, 2545)
    • Universal Health Coverage : Case studies from Thailand 

      Achara Suksamran (Health Systems Research Institute, 2555)
    • Users's satisfaction towards the Health Equity Fund: a case study at Nong District Hospital, Savannakhet, Lao PDR 

      Saysong Somsamouth; Nilawan Upakdee; Supasit Pannarunothai (Health Systems Research Institute, 2559-12)
      The Health Equity Fund is a social assistance scheme for the poor whose income is lower than the poverty eradication target in Lao PDR and unable to enroll in any kind of health insurance. Health Equity Fund (HEF) is a ...
    • Using cost-effectiveness analyses to inform policy: the case of antiretroviral therapy in Thailand 

      Sripen Tantivess; Walt G (International Health Policy Program, 2006)
    • The Validity of a new practical quality of life measure in patients on renal replacement therapy 

      Areewan Cheawchanwattana; Chulaporn Limwattananon; Gross, Cynthia; Supon Limwattananon; Viroj Tangcharoensathien; Cholatip Pongskul; Dhavee Sirivongs (International Health Policy Program, 2006)
    • WE ME มีฉัน มีเรา เพราะชีวิต เกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยง 

      กนกเลขา สิงห์เสน่ห์; อีวอน แย็ป; ทาสึยูกิ ไอดะ; เอริโกะ ไอดะ; มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในโลกใบนี้ เรื่องราวทั้งทุกข์และสุข ร้อยยิ้ม หยาดน้ำตา เสียงหัวเราะ การต่อสู้ ความไม่เข้าใจ อึดอัด โกรธ สนุก เกลียด กลัว ผิดหวัง พยายาม ไม่ยอมแพ้ ภูมิใจ สิ่งเหล่านี้ต่างเติมเต็มชีวิตให้มีรสชาติ ...
    • What's next? ถ่ายโอนไป อบจ. แล้วไงต่อ ก้าวต่อไปของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • What’s new in Biomedical Engineering 

      นันทชัย ทองแป้น (2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • What’s new in Biomedical Engineering 

      มนัส สังวรศิลป์; Manas Sangworasil (มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • What’s new in Medical Imaging 

      ชูชาติ ปิณฑวิรุจน์; Chuchart Pintavirooj (สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ไทย, 2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • WHO's web-based public hearings: hijacked by pharma? 

      Suwit Wibulpolprasert; Moosa, Shabir; Satyanarayana K; Samarage S; Viroj Tangcharoensathien (International Health Policy Program, 2007)
    • You can do it : designed by disability 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      งานสร้างเสริมสุขภาพประชาชน ไม่ได้เป็นการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างเดียวเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายมิติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นป ...
    • กงล้อที่เคลื่อนไป 1 รอบปี (กันยายน 2552-สิงหาคม 2553) จากสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นว่าด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก สู่มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 มติ 7 

      ดารณี อ่อนชมจันทร์ (สถาบันสุขภาพวิถีไทย ภายใต้ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-08)
      การส่งเสริมพัฒนางานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกของไทยเรา แม้จะดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องมากกว่า 20 ปี จนมีแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไทสุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 ...
    • กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีของประเทศไทยและต่างประเทศ 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติว่า เครื่องดื่มใดๆ ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ไม่ถือว่าเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีผลให้เครื่องดื่มดังกล่าวไม่ถูกควบคุมฉลาก การโฆษณาและมาตรการอื่นๆ ภายใต้พระราช ...
    • กฎหมายคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในร้านอาหารที่มีห้องอาหารปรับอากาศ 

      ชูชัย ศุภวงศ์; สุภกร บัวสาย; นวลอนันต์ ตันติเกตุ (2540)
      จาการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องโทษภัยของบุหรี่เป็นอย่างดี และต้องการให้ร้านอาหารโดยเฉพาะร้านที่ติดเครื่องปรับอากาศขยายเขตปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้นจากเดิม ในขณะที่ด้านเจ้าหน้าที่รัฐผู้รับ ...
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ...
    • กฎหมายเกี่ยวกับยา 

      กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; Kitti Pitaknitinan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • กฏนูเรมเบิร์ก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ...