Now showing items 5168-5187 of 5674

    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การเปลี่ยนแปลงอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนไทยและต้นทุนสถานพยาบาลระดับต่างๆ เป็นแรงกดดันให้มีการปรับอัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...
    • อัตลักษณ์ของระบบและนโยบายสุขภาพไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก การควบคุมการระบาดของโรคโควิดในประเทศไทยติดอันดับดีที่สุด 1-3 ของโลก จากความสำเร็จดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อสรุปจากปรากฏการณ์ที่ประจักษ์ชัดว่าการที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ...
    • อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo; ณัฐชยา สิรินิลกุล; Natchaya Sirininlakul; ณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิท; Nattarikan Saksanit; พิชญา คงดนตรี; Pichaya Kongdontree; พิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทร; Phimpisut Thuwatorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ปัญหาสุขภาพจากการใช้ smartphone เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การป้องกันมีความสำคัญและเร่งด่วน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณคอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน ...
    • อาคารสูง : ผลกระทบต่อสุขภาพและอนาคตของเมืองเชียงใหม่ 

      ดนัย กล่าวแล้ว; ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง, 2546-05)
      หนังสือ อาคารสูง : ผลกระทบต่อสุขภาพและอนาคตของเมืองเชียงใหม่ เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจากโครงการวิจัย เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากอาคารสูงเมืองเชียงใหม่ แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 กล่าวให้เห็นถึ ...
    • อาชญากรเด็ก? 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • อาชีวอนามัย-ความสำคัญของการตรวจสุขภาพ 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การตรวจสุขภาพในความหมายที่ใช้กันในวงการอาชีวอนามัย อาจพิจารณาได้ว่าประกอบด้วย 1. การตรวจก่อนบรรจุเป็นพนักงาน 2. การตรวจก่อนบรรจุเข้าตำแหน่งหรือก่อนย้ายแผนกงาน 3. การตรวจเป็นระยะๆ มักจะเป็นการตรวจประจำปี 4. การตรวจเพื่อปร ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...
    • อาสาสมัครสาธารณสุข : ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นรูปแบบสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาธารณสุขตามนโยบายสาธารณสุขมูลฐานที่มีการดำเนินการมานานกว่า 3 ทศวรรษ การศึกษาชิ้นนี้เป็นการประเมินศักยภาพและบทบาทของ อสม. ในบริบทสังคมไท ...
    • อำนาจของการตัดสินใจในการวางแผนครอบครัวโดยผ่านมุมมองด้านเพศของชนเผ่าลาหู่ หมู่ที่ 8 บ้านปางมะหัน ตำบลเทอดไทย 

      ฤทธิรงค์ หน่อแหวน (สถานีอนามัยปางมะหันต์, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แนะนำ 10 ผลงาน R2R ดีเด่น ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัยวันที่ ...
    • อิฐก้อนแรก : บทเรียนอนามัยไปท้องถิ่น 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; โอปอล์ ประภาวดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การกระจายอำนาจทางด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพของหลายประเทศ ด้วยฐานความเชื่อที่ว่าอาจชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพที่ดีขึ้นในด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม ประเทศไทยเองก็มีการดำเนินการด้า ...
    • อิทธิพลของธุรกิจต่อสถานเลี้ยงดูเด็กและพ่อแม่ : ศักยภาพที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย 

      ลัดดา เหมาะสุวรรณ; Ladda Mo-suwan; ธิดารัตน์ กำลังดี; ยุพาวดี สมบูรณกูล; ศิริกูล อิศรานุรักษ์; พิมภา สุตรา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      อิทธิพลของธุรกิจต่อสถานเลี้ยงดูเด็กและพ่อแม่ : ศักยภาพที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาศักยภาพของความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจ-สถานเลี้ยงดูเด็ก-พ่อแม่ ที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย วิธีวิจัย ...
    • อุตสาหกรรมผลิตยาแผนปัจจุบัน 

      สถาพร นิ่มกุลรัตน์; Sathaporn Nimkulrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • อุตสาหกรรมยาสูบและข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ในประเทศไทย 

      สุชาดา ตั้งทางธรรม (2540)
      รัฐบาลไทยอาจชื่นชมกับรายได้จากอุตสาหกรรมยาสูบปีละกว่า 20,000 ล้านบาท จนลืมความขมขื่นที่ต้องใช้งบประมาณปีละกว่า 7,000 ล้านบาทเพื่อการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจากโรคที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ซึ่งต้องเสียชีวิตลงปีละกว่า 4 หมื่นคน ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...
    • อุบัติการณ์การตรวจพบคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจประจำวันในหอผู้ป่วย ซี.ซี.ยู.และ ไอ.ซี.ซี.ยู. 

      จิตหทัย สุขสมัย; ธนัญญา บุณยศิรินันท์; พรรณี ผณินทรารักษ์; สุพาณี ช่วยประสาทวัฒนา (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง R2R clinic: ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้บ่อยใน R2R วันที่ 21 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยที่สงสัยไข้เดงกี่ (ผลการรายงานเบื้องต้น) 

      จุไร วงศ์สวัสดิ์; Jurai Wongsawat; ปฐมา สุทธา; Patama Suttha; สุมนมาลย์ อุทยมกุล; Sumonmal Utayamakul; สุมาลี ชะนะมา; Sumalee Chanama; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      บทนำ การติดเชื้อไวรัสซิกาที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญในช่วงทศวรรษนี้ เชื้อซิกาเป็นเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับเชื้อไวรัสเดงกี่ และมีอาการทางค ...
    • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในกลุ่มทารกแรกเกิด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย 

      พิมลพรรณ ต่างวิวัฒน์; Pimolphan Tangwiwat; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangrattananon; วรรณชนก ลิ้มจำรูญ; Wanchanok Limchumroon; เบญจวรรณ อิ้งทม; Benjawan Ingthom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ที่มาและความสำคัญ: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อมาตรการควบคุมโรค การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดบริการด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจากการติดโรค การศึกษานี้ ...
    • อุบัติเหตุ ใช้เบาะนิรภัย เด็กตายลดลง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-07-09)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์ : กรณีศึกษาของประเทศไทย อ่านฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4326