Now showing items 1-19 of 19

    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การจัดลำดับปัญหาทางสุขภาพของประชากรไทยในปี 2542 โดยการใช้เครื่องชี้วัดภาระโรค 

      สุพรรณ ศรีธรรมมา; ปรีดา แต้อารักษ์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ยงเจือ เหล่าศิริถาวร; จเด็จ ธรรมธัชอารี; พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; อำนวย แสงฉายเพียงเพ็ญ; อริยะ บุญงามชัยรัตน์; ชูจิตร นาชีวะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ความสูญเสียด้านสุขภาพโดยใช้ดัชนีปีสุขภาวะที่สุญเสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร การเจ็บป่วยและพิการ (Disability - Adjusted Life Year: DALY) เพื่อนำมาใช้ในการจัดลำดับ ปัญหาทางสุขภาพของคนไทย ...
    • การตายที่หลีกเลี่ยงได้ในประเทศไทย พ.ศ. 2552 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; กาญจนาวดี ประสิทธิสา; Kanjanawadee Prasittisa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การตายที่หลีกเลี่ยงได้เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สำคัญในการประเมินคุณภาพการรักษาพยาบาลหรือการพัฒนานโยบายสุขภาพของประชากรที่ใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยแสดงการตายจากสาเหตุที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น หากมีมาตรการทางสุขภ ...
    • การทบทวนค่าความชุกของการสูญเสียสายตาโดยใช้ภาวะตาบอดและสายตาเลือนรางเป็นตัวชี้วัด 

      กมลทิพย์ ใหม่วงศ์ธำรง; รัตน์สีดา สายทอง; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; วัฒนีย์ เย็นจิตร; Kamontip Maiwongtamrong; Ratsida Saithong; Kanitta Bundhamcharoen; Watanee Jenchitr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาทบทวนค่าความชุกของการสูญเสียสายตาโดยแบ่งระดับความรุนแรงตามตัวชี้วัดคือภาวะตาบอดและสายตาเลือนราง ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจระดับประเทศในคนไทย ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒ จำนวน ๓ ...
    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การพัฒนารูปแบบนำร่องเพื่อพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย กรณีการตายนอกสถานพยาบาลใน 12 เขตสุขภาพ 

      กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      ข้อมูลสาเหตุการตายมีความสำคัญ ซึ่งสะท้อนปัญหาสุขภาพของประชากร โดยข้อมูลสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประเมินติดตามผลการดำเนินงานของระบบสุขภาพ รวมถึงเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนางานสาธารณสุขระดับชาติ แม้ระบบการรายงานการตายข ...
    • การวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์ของการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์นโยบายกัญชาทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยประกอบด้วยการศึกษา 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ การทบทวนวรรณกรรมเพื่อประเมินผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิ ...
    • การวิเคราะห์ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบสาธารณสุขเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการปรับตัวของระบบบริการต่อการระบาดและความยั่งยืนของระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จารวี สุขมณี; Jarawee Sukmanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วุฒิพันธ์ุ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชุติมน สินธุประมา; Chutimon Sindhuprama; ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; จุฑาทิพย์ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; พูนชนะ วารีชัย; Poonchana Wareechai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-31)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อทุกคนในทุกหนแห่ง อย่างไรก็ตามแม้ว่าโควิด-19 จะส่งผลกระทบด้านลบหลายประการแต่ก็ทำให้นักวิจัยได้หาโจทย์และแนวทางในการสร้ ...
    • การศึกษาสถานการณ์และพยากรณ์การตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อตามเป้าหมายระดับโลก พ.ศ. 2543-2573 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากรไทยช่วงอายุ 30-70 ปี จากโรคไม่ติดต่อ (noncommunicable diseases: NCDs) 4 กลุ่มโรค ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ...
    • การสังเคราะห์ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวสำหรับประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553-03)
      รายงานการสังเคราะห์ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาว (Long-term Care) สำหรับประเทศไทยฉบับนี้ เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านมาทั้งของไทยเองและของต่างประเทศ ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ได้รับนมแม่กับการเกิดโรคผื่นผิวหนังอักเสบภูมิแพ้และโรคหืดในเด็ก 

      รัตน์สีดา สายทอง; Ratsida Saithong; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      องค์การอนามัยโลกมีข้อแนะนำให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว (Exclusive breastfeeding) ในช่วงระยะเวลา 6 เดือนแรก เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันการเจ็บป่วยของบุตร ซึ่งมีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนมแม่แล ...
    • ความสัมพันธ์และความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจจากการสูบบุหรี่ : การศึกษาทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอนุมาน 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; สุชัญญา อังกุลานนท์; หทัยชนก สุมาลี; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Jiraboon Tosanguan; Suchunya Aungkulanon; Hathaichanok Sumalee; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงและการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สำคัญประการหนึ่ง โดยในปัจจุบันได้มีการศึกษาทางด้านระบาดวิทยามากมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ซึ่งสำหรับโรคมะเร็งปอด ...
    • ดัชนีสถานะสุขภาพเชิงลบ 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของคำว่า "สุขภาพ" ว่าเป็นภาวะที่สมบูรณ์ทั้งด้านกาย จิต สังคม และปัญญา ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วยเท่านั้น ซึ่งจากนิยามมองดูเป็นนามธรรมและยากที่จะวัดผลได้ เพราะการวัดสถานะสุขภาพของป ...
    • บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ...
    • ปัญหาสุขภาวะเด็ก กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาวะเด็ก 0 - 5 ปี ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; สุทธิษา สมนา; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; สุชัญญา อังกุลานนท์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Pitsaphun Weerayingyong; Naiyana Praditsitthikorn; Sutthisa Sommana; Sripen Tantivess; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Voramongkol; Kanittha Boonthamcharoen; Suchunya Aungkulanon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาเป็นระยะเวลานาน แต่ยังเป็นการดำเนินการแบบแยกส่วน ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ ทิศทาง และเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน หากดำเนินการแบบองค ...
    • ภาระของโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย 

      รัตน์สีดา ผลเจริญ; Ratsida Phoncharoen; บรรจบ ศรีภา; Banchob Sripa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดียังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทย สาเหตุหลักของการเกิดมะเร็งชนิดนี้คือ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงภาระโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับโดยใ ...
    • ภาระโรค 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ...
    • ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ : ทิศทางประเทศไทย 

      ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ลัดดา ดำริการเลิศ; อุบล หลิมสกุล; นงลักษณ์ พะไกยะ (แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-01)
      สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ (อายุมากว่า 60 ปี) ในปัจจุบันมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สังคมไทยต้องเริ่มมีการเตรียมค ...
    • รูปแบบการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุมชน 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)