Now showing items 1-20 of 24

    • Area Health Research Fellowship 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-23)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรม โครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • Clinical & Service Quality 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-24)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • การตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคสำหรับการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพระดับจังหวัด 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับศึกษาการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพที่เป็นอยู่และที่คาดหวังในสายตาของผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติในระดับจังหวัด ...
    • การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทยจากมุมมองของผู้ให้บริการ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; Barbara Starfield (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บริการปฐมภูมิเป็นกิจกรรมสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย การศึกษานี้จึงดำเนินขึ้นเพื่อประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทย จากมุมมองของผู้ให้บริการในพื้นที่ ...
    • การประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ระยะที่ 1 และ 2 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ในการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ (formative evaluation) โดยครอบคลุมโครงการทั้งระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ...
    • การมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ค่าใช้จ่ายสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้น เกินกว่าอัตราที่งบประมาณที่มีอยู่จะเพียงพอให้การสนับสนุน ทำให้เริ่มเกิดคำถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ รายงานนี้เป็นการนำเสนอผลการสังเคราะห์ประสบการณ์ต่างประเทศ ...
    • การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล ภายใต้แผนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการจัดการระบบสุขภาพระดับตำบลในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล 3. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและความรับผิดชอบในการดำเนินก ...
    • การสำรวจการใช้ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; สัญญา ศรีรัตนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้เป็นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานการณ์การใช้และการลงทุนในระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลในประเทศไทย โดยการส่งแบบสอบถามผู้แทนอย่างน้อย ๒ คนของโรงพยาบาลทั่วประเทศ ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ...
    • การใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการพัฒนาบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล 

      อำนาจ ศรีรัตนบัลล์; Amnach Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จินดา ตั้งรวมทรัพย์; จารุวรรณ ธาดาเดช; Santawat Asavaroengchai; Krit Pongpirul; Jinda Tangraumsab; Charuwan Tadadej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      เป้าประสงค์ของโครงการวิจัยนี้คือความพยายามที่จะใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มาช่วยพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ (HP) ในบริบทของโรงพยาบาลให้กว้างขวางยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยที่ตั้งไว้มีสองข้อ ...
    • ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย 

      มณฑกา ธีรชัยสกุล; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จิตต์ปภัสสร์ ปวรดุลวัต; ธนัช นาคะพันธ์; ณัตราพร วงศ์ชัย (สถาบันวิจัยการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2560-01)
      ด้วยองค์ความรู้การแพทย์แผนไทยเป็นความรู้ทางการแพทย์ดั้งเดิมของชาติมีพื้นฐานปรัชญาของการรักษาบำบัดผู้ป่วยที่แตกต่างจากปรัชญาและการวิเคราะห์ของการแพทย์แผนปัจจุบันอย่างมากกล่าวคือ ระบบการแพทย์ดั้งเดิมมักจะมุ่งเน้นการวิเคราะ ...
    • ความคาดหวังของผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชนในเขตสุขภาพที่ 2 ต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 

      พันธิตรา สิงห์เขียว; Pantitra Singkheaw; ศิริเกษม ศิริลักษณ์; Sirikasem Sirilak; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุภาวดี มากะนัดถ์; Supawadee Makanut; เสาวนาถ สันติชาติ; Saowanat Santichat; อารยา ชัยช่อฟ้า; Araya Chaichofar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      ภารกิจหลักข้อหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คือ การผลิตบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ซึ่งรับนักเรียนที่มีภูมิลำเนาใน 5 จังหวัดของเขตสุขภาพที่ 2 จำนวน 145 คนต่อปี เมื่อสำเร็จการศึกษาจะกลับไปปฏิบั ...
    • ความพึงพอใจการล้างไตทางช่องท้องและทัศนคติต่อการปลูกถ่ายไตในผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ PD First Policy 

      จตุรงค์ กิจตระกูลรัตน์; Jathurong Kittrakulrat; ภาวิณี อรรณพพรชัย; Pavinee Annoppornchai; อรอนงค์ เจียรสุจิตวิมล; Onanong Jearnsujitvimol; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      โครงการ Peritoneal Dialysis First Policy ได้เข้ามามีบทบาททำให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ได้รับการล้างไต และช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. ...
    • ความเห็นของผู้ให้บริการต่อการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล ฉบับปีกาญจนาภิเษก : กรณีศึกษาระบบสารสนเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; สัญญา ศรีรัตนะ; หทัยชนก สุมาลี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นปัญหาที่สำคัญต่อโรงพยาบาลซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงพยาลาล (Hospital Accrediation , HA) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล เพื่อนำมาประกอ ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; มโน มณีฉาย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Jaruayporn Srisasalux; Mano Maneechay; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Kin Phongphirun; Jadej Thammatacharee; Pharanee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 2 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Krit Pongpirul; Jadej Thammatacharee; Poranee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการวิจัยคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย นี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเ ...
    • คุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้จัดการงานวิจัยมีบทบาทสำคัญต่อระบบงานวิจัย บทความนี้บรรยายรายละเอียดถึงคุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัยที่จำเป็นต้องมี ซึ่งได้แก่ 1.ความเป็นกลาง 2.ทักษาการประเมินโครงการวิจัย 3. ความรอบรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ...
    • บทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; อำนาจ ศรีรัตนบัลล์; จินดา ตั้งรวมทรัพย์; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; จารุวรรณ ธาดาเดช (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การส่งเสริมสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมากในระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต่าง ๆ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย ในขณะที่ยังคงขาดความชัดเจนในเรื่องบทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ ...
    • บริการปฐมภูมิกับระบบสุขภาพ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; บาร์บาร่า สตาร์ฟิลด์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)