• การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...
    • การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ 

      อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; ปณิธี ธัมมวิจยะ; สมคิด คงอยู่; วิริชดา ปานงาม; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์; เศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์; ธีระพล สลีวงศ์; วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์; ชรินทร์ โหมดชัง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-02)
      การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความค ...