Now showing items 1-4 of 4

    • การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 

      โอริสา ซื่อสัตยาวงศ์; Orisa Sursattayawong; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงจัดการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์เป็นครั้งแรก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทบทวนการจัดประชุมแบบออนไลน์แ ...
    • การแทรกแซงนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศไทยโดยอุตสาหกรรมอาหารผ่านหน่วยงานภาครัฐ 

      กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; ชะเอม พัชนี; Chaaim Pachanee; มินตรา หงษ์ธำรง; Mintar Hongtumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การแทรกแซงของภาคอุตสาหกรรม (industrial interference) เพื่อผลประโยชน์ของตน มีทั้งอย่างเปิดเผยและอย่างลับๆ ในหลายรูปแบบและหลายช่องทาง ทั้งผ่านนักการเมืองระดับสูง สื่อสาธารณะและสถาบันการศึกษา ตลอดจนการติดต่อโดยตรงกับผู้ปฏิบ ...
    • ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพจิตในเวทีระดับโลก 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เทอดศักดิ์ เดชคง; Terdsak Detkong; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ความตึงเครียดจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ฯ เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้จำนวนผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิตและภาระโรคทางสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิตในช่วงของการระ ...
    • ผลกระทบของข้อตกลงยอมรับร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภายใต้กรอบอาเซียน ต่อระบบสุขภาพของประเทศไทย: การวิเคราะห์ประสบการณ์จากสหภาพยุโรป 

      ชาญณรงค์ สังข์อยุทธ; Channarong Sungayuth; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพพยาบาล เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๙ และลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพแพทย์ และวิชาชีพทันตแพทย์ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ อันถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อระบบสุขภาพในภูมิภาค ...