• ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; สมนึก สังฆานุภาพ; Somnuek Sungkanuparph; นิธิตา นันทตันติ; Nithita Nanthatanti; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; สมคิด อุ่นเสมาธรรม; Somkid Ounsematham; เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์; Piamlarp Sangsayunh; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Monosuthi; วิชัย เตชะสาธิต; Wichai Techasathit; พลิตา เหลืองชูเกียรติ; Palita Lungchukiet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ...
    • ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี 

      ประเสริฐ บุญเกิด; Prasert Boongird; สมศักดิ์ ลัพธิกุลธรรม; Somsak Laptikultham; พนิดา กฤตยภูษิตพจน์; วรรณี นิธิยานันท์; Wannee Nitiyanant; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; วัลยา จงเจริญประเสริฐ; Wallaya Jongjaroenprasert; สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ; Surasak Kantachuvessiri; อติพร อิงค์สาธิต; Atiporn Ingsathit; วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี; ชนิดา ปโชติการ; Chanida Pachotikarn; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; ปริญญา ชำนาญ; Parinya Chamnan; วีระ มหาวนากูล; อาคม อารยาวิชานนท์; Arkom Arayawichanont; พรรณประพร โคนพันธ์; พิเชฐ หล่อวินิจนันท์; Pichet Lorwinitnan; คมสัน พิริยะกิจไพบูลย์; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      โครงการนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบทดลอง มีกลุ่มเปรียบเทียบและสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Randomized Control Trial) เพื่อศึกษาดูผลของการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (พฤติกรรมสุขภาพ 4 พฤติกรรม ที่ 4 ระดับของกิจกรรมคือ ระดับบุคคล ระดับครัวเรือน ...
    • ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 

      ประเสริฐ บุญเกิด; สมศักดิ์ ลัพธิกุลธรรม; พนิดา กฤตยภูษิตพจน์; วรรณี นิธิยานันท์; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; วัลยา จงเจริญประเสริฐ; สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ; อติพร อิงค์สาธิต; วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี; ชนิดา ปโชติการ; วิชัย เอกพลากร; ปริญญา ชำนาญ; วีระ มหาวนากูล; อาคม อารยาวิชานนท์; พรรณประพร โคนพันธ์; พิเชฐ หล่อวินิจนันท์; คมสัน พิริยะกิจไพบูลย์; วิน เตชะเคหะกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      รายงานผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี เป็นโครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 มีโครงการวิจัยย่อยภายใต้แผนงานวิจัย 2 โครงการ คือ ...