• การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; เบญจมพร เอี่ยมสกุล; Benjamaporn Eiamsakul; ปิยดา แก้วเขียว; Piyada Gaewkhiew; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนกิตติ์ อธิบดี; Thanakit Athibodee; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; Dabak, Saudamini Vishwanath; Prakash, Annapoorna; Chavarina, Kinanti Khansa; Myint, Aye Nandar; Liu, Sichen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      ภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ...
    • การวิเคราะห์ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบสาธารณสุขเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการปรับตัวของระบบบริการต่อการระบาดและความยั่งยืนของระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จารวี สุขมณี; Jarawee Sukmanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วุฒิพันธ์ุ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชุติมน สินธุประมา; Chutimon Sindhuprama; ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; จุฑาทิพย์ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; พูนชนะ วารีชัย; Poonchana Wareechai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-31)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อทุกคนในทุกหนแห่ง อย่างไรก็ตามแม้ว่าโควิด-19 จะส่งผลกระทบด้านลบหลายประการแต่ก็ทำให้นักวิจัยได้หาโจทย์และแนวทางในการสร้ ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ ต้นทุนและผลกระทบงบประมาณของการให้บริการล้างไตแบบต่อเนื่องในประเทศไทย 

      จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงจะเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจ ...
    • การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ...
    • การสำรวจทรัพยากรของโรงพยาบาลที่ให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง 

      จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: โรคไตวายเฉียบพลันเกิดได้จากหลายสาเหตุ ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถขับของเสียออกจากร่างกายได้ ในประเทศไทย ผู้ป่วยไตวายเฉียบพลันที่เข้าถึงบริการบำบัดทดแทนไตมีแนวโน้มลดลง ซึ่งมีสมมติฐานอยู่สองประการคือ ...