Now showing items 1-5 of 5

    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การประเมินการถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: สังเคราะห์บทเรียนจากพื้นที่ 51 แห่งและทางเลือกในเชิงนโยบาย 

      อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; นิธิวัชร์ แสงเรือง; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; วีรศักดิ์ พุทธาศรี; วลัยพร พัชรนฤมล; Anond Kulthanmanusorn; Nithiwat Saengruang; Yaowaluk Wanwong; Hathairat Kosiyaporn; Woranan Witthayapipopsakul; Jaruayporn Srisasalux; Weerasak Putthasri; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02-28)
      การถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหนึ่งในหลายรูปแบบของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกค ...
    • การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ...
    • การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ...
    • รูปแบบการจ้างงาน การคงอยู่ของบุคลากรสุขภาพและภาระงบประมาณ: กรณีศึกษาเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลในภาครัฐ ระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ในปัจจุบันนั้น ภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรสุขภาพที่เป็นข้าราชการลง นโยบายดังกล่าวไม่เพียงแต่ส่งผลต่อบุคลากรฝ่ายสนับสนุนบริการสุขภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิชาชีพด้านสุขภาพต่างๆ ที่สำคัญ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ ...