Browsing by Author "ประเสริฐ เอื้อวรากุล"
Now showing items 1-6 of 6
-
Flu A 2009 swl outbreak : ข้อสังเกตสำหรับการจัดการความรู้
ประเสริฐ เอื้อวรากุล (มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552-07-16)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อการจัดการความรู้ในสถานการณ์วิกฤต: กรณีศึกษาเหตุการณ์ความไม่สงบใน กทม. และการระบาดของไข้หวัดใหญ่ ... -
Health and Medical Cluster
ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557-09-05)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี -
การปล่อยเชื้อไวรัสที่มีชีวิตอย่างยืดเยื้อในผู้ป่วย COVID-19
ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ชมพูนุท บุญอากาศ; Chompunuch Boonarkart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)การพบว่ามีสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่คงอยู่เป็นเวลานานแม้จะหายจากการป่วยแล้วนั้นเป็นสิ่งที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่สำคัญในการควบคุมโรค โดยมีคำถามสำคัญว่าการพบสารพันธุกรรมดัง ... -
การศึกษา Neutralizing แอนติบอดี และการผลิตพลาสมาผู้ที่ฟื้นจากโรคโควิด-19 และ Hyperimmune Globulin (IM)
ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; เลลานี ไพฑูรย์พงษ์; Leilani Paitoonpong; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanon; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; นรินทร์ กิจเกรียงไกรกุล; Narin Kijkriengkraikul; สมใจ สมบัตินิมิตสกุล; Somjai Sombatnimitsakul; วดี รุ่งประดับวงศ์; Wadee Rungpradubvong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)Severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2) เป็นเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคโควิด-19 (COVID-19) โดยพบการรายงานการติดเชื้อครั้งแรกในประเทศจีนและระบาดไปยังประเทศต่างๆ อย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ... -
ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง
ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; สมนึก สังฆานุภาพ; Somnuek Sungkanuparph; นิธิตา นันทตันติ; Nithita Nanthatanti; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; สมคิด อุ่นเสมาธรรม; Somkid Ounsematham; เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์; Piamlarp Sangsayunh; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Monosuthi; วิชัย เตชะสาธิต; Wichai Techasathit; พลิตา เหลืองชูเกียรติ; Palita Lungchukiet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ... -
ไข้หวัดใหญ่ เอ 2009 และการระบาดทั่วโลก
ประเสริฐ เอื้อวรากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)ไม่ว่าจะเรียกชื่อไวรัสว่าไวรัสไข้หวัดหมู หรือไข้หวัดใหญ่เม็กซิกัน หรือไข้หวัดใหญ่ เอ H1N1 สายพันธุ์ 2009 ก็ตาม ความจริงก็คือไวรัสสายพันธุ์นี้มีความเสี่ยงมากที่จะเกิดการระบาดใหญ่ทั่วโลกที่เรียกว่า influenza pandemic ...