Now showing items 1-7 of 7

    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (รายงานวิจัย) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (เอกสารเผยแพร่) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565-2566 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ศศิภา จันทรา; Sasipa Chantra; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; อิสริยาภรณ์ คันธา; Isariyaporn Kanta; อรจิรา หนูทองอินทร์; Onjira Nuthong-In; ณิชาธร กาญจนโยธิน; Nichatorn Karnchanayothin; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทยปี พ.ศ. 2565–2566 เทียบกับต่างประเทศในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประเทศไทยเทียบกับกลุ่มประเทศ OECD (Organisation for Economic Co-operation ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกับกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ เนื่องจากผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...
    • การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ : ความสำเร็จอีกขั้นของระบบหลักประกันสุขภาพไทย 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      ถึงแม้ประเทศไทยจะได้ขยายหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนแล้ว ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ยังไม่สามารถครอบคลุมคนไทยทุกคนได้จริง เพราะการตีความผู้มีสิทธิในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • ฉากทัศน์อนาคตระบบสุขภาพไทยใน 10 ปีข้างหน้า 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; เชาวรินทร์ คำหา; Chaowarin Khamha; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; จุฑามาส พจน์สมพงษ์; Chuthamat Pojsompong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การวิจัยเชิงอนาคตครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพ 2) ศึกษาฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของระบบสุขภาพในอีก 10 ปีข้างหน้า และ 3) สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านระบบสุขภา ...