Now showing items 1-14 of 14

    • 1,3-บิวทาไดอีน 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      1,3-บิวทาไดอีนส่วนใหญ่ใช้ในการกระบวนการผลิตยางสังเคราะห์และพอลิเมอร์ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งที่องค์การนานาชาติด้านการวิจัยมะเร็งไม่ระบุอวัยวะ บทความนี้ได้ทบทวนการผลิต การสัมผัส การประเมินการสัมผัสและผลการสัมผัสบิวทาไดอีน
    • กระบวนการประชาสังคมเพื่อการปฏิรูปโรงพยาบาลของรัฐระดับอำเภอเพื่อร่วมเรียนรู้สู่โรงพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน 

      องอาจ วิพุธศิริ; Ongart Viputsiri; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; มยุรี จิรวิศิษฎ์; ชัชวาล ประภาวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      กระบวนการประชาสังคมเพื่อการปฏิรูปโรงพยาบาลของรัฐ: กระบวนการเรียนรู้สู่โรงพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน ดำเนินการในรูปกระบวนการร่วมคิดร่วมพัฒนาและเข้าใจร่วมกันในกลุ่มภาคีในรูประชาคมเพื่อสร้างความเข้าใจและสามัคคีในการปฏิรูปโรงพยาบ ...
    • การประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ระยะที่ 1 และ 2 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ในการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ (formative evaluation) โดยครอบคลุมโครงการทั้งระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ...
    • การศึกษาบทบาทและการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคไม่ติดต่อในสถานประกอบการของผู้นำองค์กรและผู้บริหารงานทรัพยากรบุคคล 

      เจตน์ รัตนจีนะ; Jate Ratanachina; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      ประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้กำหนดแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2564 ฉบับล่าสุดในส่วนการปฏิรูประบบสาธารณสุขได้มุ่งเน้น “การสร้างเสริมสุขภาพ” ซึ่งสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ เป้าหมายที่ 3 ...
    • การศึกษาเชิงคุณภาพ นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคไม่ติดต่อในสถานประกอบการของผู้บริหารองค์กรและงานทรัพยากรบุคคล ประเทศไทย 

      เจตน์ รัตนจีนะ; Jate Ratanachina; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      ความเป็นมา: คณะรัฐมนตรีได้กำหนดแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2564 ในส่วนการปฏิรูประบบสาธารณสุข มีจุดเน้นที่นโยบายและมาตรการในที่ทำงาน โดยกำหนดเป้าหมายให้มี “นโยบายสุขภาพในที่ทำงาน” แต่การศึกษาด้านการบริหารจัดการ ...
    • การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      วิไลลักษณ์ หมดมลทิน; Wilailuck Modmoltin; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง ธันวาคม 2550 กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารขององค์กรปกครองส ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชนรอบเขตอุตสาหกรรม 

      สรันยา เฮงพระพรหม; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      ปัญหาสุขภาพอันเป็นผลจากสิ่งแวดล้อมเป็นที่สนใจของสาธารณชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมากขึ้นในระยะนี้ หนึ่งในนั้นคือโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่เกิดจากการสัมผัสสารเบนซีน บทความนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลจากรายงานผลงานวิจัยเชิงคุณภาพซ ...
    • ความสำคัญของการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคสิลิโคสิส และโรคใยหิน 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ประเทศไทยใช้สิลิคาและแร่ใยหินมานาน แต่มีรายงานการวินิจฉัยลิสิโคสิสและโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดซึ่งอาจเกิดจากแร่ใยหินเพียงไม่กี่ราย การขึ้นทะเบียนกลุ่มโรคเสี่ยงโรคสิลิโคสิสและโรคเกี่ยวกับแร่ใยหิน เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการเฝ้ ...
    • ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; Surasak Buranatrevedh; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarunkul; ณรงค์ภณ ทุมวิภาต; Narongpon Dumavibhat; เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์; Chalermchai Chaikittiporn; วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์; Wantanee Phanprasit; สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์; Somkiat Siriruttanapruk; ชุลีกร ธนธิติกร; Chuleekorn Thanathitikorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แร่ใยหินทุกชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง มีผลต่อสุขภาพทั้งคนงานที่ทำงานสัมผัสแร่ใยหินและประชาชนทั่วไป แม้จะมีมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2553) เรื่องมาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน และคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 ...
    • ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sitthisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ระบบมาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของสหราชอาณาจักรในชื่อ OHSAS 18001:2007 มีประโยชน์หลายด้าน ซึ่งบทความนี้จะนำมากล่าวถึงความสำคัญเพื่อบริหารสุขภาพและความปลอดภัยตามกฎหมายและระบบมาตรฐานในปัจจุบัน การวางระบบ ...
    • ลอจิสติคส์ - การส่งกำลังบำรุง 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul; สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      คำ logistics มาจากภาษากรีกโบราณ logos แปลว่า สัดส่วน คำ การคำนวณ เหตุผล การปราศรัย สุนทรพจน์ ลอจิสติคส์ เป็นคำที่มีที่มาจากทางทหาร หมายถึง การส่งกำลังบำรุง ในปัจจุบันมีผู้ให้นิยามว่า เป็นศิลปะการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (supply ...
    • สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของงานอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ 

      ศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล; Srivipa Leangpunsakul; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; จามรี สอนบุตร; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 3 จังหวัดชายแดนใต้เข้าขั้นวิกฤติ อัตราส่วนมารดาตายสูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศประมาณ 3 เท่า และสูงกว่าเป้าหมาย MDGs Plus เกือบ 2 เท่าตัว ผลการดำเนินงาน ต่ำกว่าเป้าหมายในเกือบทุกตัวชี้วัด ...
    • อหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 

      สรันยา เฮงพระพรหม; Sarunya Hengpraprom; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      การแปรสภาพภูมิอากาศของโลกส่วนใหญ่เป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลกระทบทางลบจากการเปลี่ยนแปลงคือภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ การกระจายของโรคและพาหะของเชื้อโรคหลายชนิด ซึ่งย้อนกลับมาส่งผลต่อมนุษย์เอง ...
    • อาชีวอนามัย-ความสำคัญของการตรวจสุขภาพ 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การตรวจสุขภาพในความหมายที่ใช้กันในวงการอาชีวอนามัย อาจพิจารณาได้ว่าประกอบด้วย 1. การตรวจก่อนบรรจุเป็นพนักงาน 2. การตรวจก่อนบรรจุเข้าตำแหน่งหรือก่อนย้ายแผนกงาน 3. การตรวจเป็นระยะๆ มักจะเป็นการตรวจประจำปี 4. การตรวจเพื่อปร ...