• การทบทวนสถานการณ์และกลไกการจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อรจิรา วงษ์ดนตรี; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาเข้าถึง ทำความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิชาการในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้แตกต่างกันไป อาทิเช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าท ...
    • การระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้และพัฒนาเครื่องตรวจวัดภาวะทางจิตจากเหงื่อแบบพกพา สำหรับคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช : การศึกษาพหุสถาบัน 

      ชฎิล กุลสิงห์; Chadin Kulsing; ภัทราวลัย สิรินารา; Patthrarawalai Sirinara; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; Maes, Michael; ณัฐนี ตั้งกิจอนันต์สิน; Nuttanee Tungkijanansin; จามรี สอนบุตร; Jarmmaree Sornboot; ศรัณย์ ศรีคำ; Saran Srikam; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์; Monthichar Chenphanitsub; สิรินาถ มีเจริญ; Sirinat Meecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้ได้พัฒนาวิธีทางเลือกสำหรับตรวจคัดกรองโรคหรือภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต โดยเริ่มจากการทำฐานข้อมูลสารระเหยง่ายและระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้ในเหงื่อด้วยเทคนิค Gas Chromatography-Ion Mobility Spectrometry (GC-IMS) ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง : กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; ณัฐพล แย้มฉิม; พิมชนก สิงหา; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์; ปณัชช์ฐิตา ผากานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-05-31)
      การวิจัยชิ้นนี้มุ่งเป้าที่จะศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการทางการแพทย์ระดับปฐมภูมิของประชากรที่มีสิทธิในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และระบบประกันสังคม ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาข้อ ...