Now showing items 1-3 of 3

    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อการขยายผลด้วยกรอบแนวคิด CFIR, RE-AIM และ NPT 

      มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; พัชรี วีรพันธุ์; Patcharee Veeraphan; สุรัสวดี กลิ่นชั้น; Suratsawadee Klinchan; อรพิน ยอดกลาง; Orapin Yodklang; ศิริพร อูปแปง; Siriporn Oubpang; อมรรัตน์ ยาวิชัย; Amonrat Yavichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูนได้พัฒนารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย เรียกว่า “ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน หรือยุทธศาสตร์ 4 เสา” เพื่อลดอัตราการฆ่าตัวตายในจังหวัด โดยดำเนินงานทุกอำเภอ ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2560 (ระยะที่ 1) 

      วิมล โรมา; ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; มธุรส ทิพยมงคลกุล; ณัฐนารี เอมยงค์; นรีมาลย์ นีละไพจิตร; สายชล คล้อยเอี่ยม; มุกดา สำนวนกลาง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) คือ ระดับสมรรถนะของบุคคล ในการเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และปรับใช้ข้อมูลความรู้ และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการศึกษาที่ผ่านมาระบุว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่กำหนดสถานะสุขภาพ ...