Browsing by Author "มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์"
Now showing items 1-15 of 15
-
Patterns of Outpatient Services and Charge for Patients Enrolled in the Universal Health Coverage Scheme
คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)Background: In 2011, the Universal Health Coverage (UHC), which is a public health insurance scheme, covered approximately 48.3 million (74.3%) of the Thai population. This study aims to examine the patterns of outpatient ... -
กลไกการใช้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และด้านการเงินและบัญชี เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระดับจังหวัด และประเมินระบบสุขภาพของจังหวัด
ศศิธร ธนะภพ; Sasithon Tanapop; อรทัย เขียวเจริญ; นิลวรรณ อยู่ภักดี; พารุณี ยิ้มสบาย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคลภายในจังหวัด เชื่อมโยงระหว่างความจำเป็นทางสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพของประชากร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในด้านซื้อบริการสุขภาพที่ระดับจังหวัด ... -
การดูแลสุขภาพองค์รวมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ
ทวีศักดิ์ นพเกษร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2009-02) -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; David Hughes (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การพัฒนาข้อเสนอรูปแบบและโครงสร้างการบริหารเขตสุขภาพ
วินัย ลีสมิทธิ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-02-28)วัตถุประสงค์และวิธีการศึกษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการได้แก่ (๑)ค้นหารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพ รวมทั้งทางเลือกฉากทัศน์ (scenarios) การพัฒนาในอนาคต (๒)พัฒนารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทหน้าที่ของคณะกร ... -
การพัฒนาเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการตัดสินใจและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากการได้รับบริการทางการแพทย์ที่สมควรได้รับการคุ้มครอง
ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2009-08)การศึกษาเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการตัดสินใจว่า เกิดภาวะไม่พึงประสงค์หรือความเสียหายจากการรับบริการทางการแพทย์ที่สมควรได้รับการคุ้มครองหรือชดเชย และรูปแบบกระบวนการพิจารณาตัดสินใจ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกระบว ... -
การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย
ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)จากสภาพปัญหาภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและการฟ้องร้องที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีการร่างพระราชบัญญัติกองทุนชดเชยความเสียหายจากบริการสุขภาพที่ออกแบบให้ครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม แต่กองทุนใหม่นี้ควรมีกระบวนการวินิจฉัยซึ่งเ ... -
การอุดหนุนและเฉลี่ยความเสี่ยงระหว่างสถานบริการในการเข้าสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะนำร่อง
ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Panarunothai; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)เนื่องจากต้นทุนการจัดบริการของสถานพยาบาลต่างๆ มีความแตกต่างกันมาก การเข้าสู่การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชนไทย ด้วยวิธีงบประมาณแบบใหม่จะมีความสำคัญในการส่งเสริมให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปอย่างราบรื่น ... -
ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน
Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ... -
ต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคลของหน่วยบริการสุขภาพในจังหวัดพิษณุโลก : ด้วยวิธีต้นทุนจุลภาพ
อรทัย เขียวเจริญ; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; บุญเติม ตันสุรัตน์; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2555-07)วิธีการจ่ายเงินให้กับหน่วยบริการเป็นเครื่องมือสําคัญในการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่หลายๆ ประเทศทั่วโลกนํามาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งการจ่ายเงินไม่ว่าในรูปแบบใดหากออกแบบให้เหมาะสมย่อมนําไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ ... -
ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง
บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ... -
ผลกระทบของนโยบาย 30 บาท ต่อระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช : ภาพรวมระดับประเทศและกรณีศึกษาสถานพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชในภาคเหนือของประเทศไทย
บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อาจมีจุดอ่อน ผู้ให้บริการมี/รับความเสี่ยง เลือกเฉพาะผู้ป่วยท ... -
ระบบการจัดกลุ่มผู้ป่วยนอก : ความเป็นไปได้จากฐานข้อมูลประกันสุขภาพในประเทศไทย
นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความเป็นไปได้ในการจัดกล่มผู้ป่วยนอกจากฐานข้อมูลประกันสุขภาพในประเทศไทย โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดกลุ่มผู้ป่วยนอกของบริษัท 3M และการจัดกลุ่มโรคร่วมปรับค่าคลินิกของมหาวิทยาลัยจอนห์ฮอบกินส์เป ... -
ระบบโครงสร้างและกลไกในการอนุรักษ์ พัฒนาและคุ้มครองภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท : มาตรการด้านการเงิน
ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; Ampawan Srivilai; อัมพวรรณ ศรีวิไล; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะเภสัชศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Pharmaceutical Sciences (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)หนึ่งในสาเหตุสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้การพัฒนาภูมิปัญญาสุขภาพไทยต้องขาดช่วงไปเกือบหนึ่งศตวรรษ คือการขาดระบบการศึกษาที่เกื้อหนุนการสืบทอดและพัฒนาองค์ความรู้ให้เหมาะกับยุคสมัย การแพทย์ไทยและการแพทย์พื้นบ้านถูกทอดทิ้งให ... -
แนวคิดของสังคมต่อหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
สุภาภรณ์ เตโชวาณิชย์; Supaporn Techowanit; มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะแพทยศาสตร์; Naresuan University. Faculty of Medicine (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)ปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลประกาศสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนทุกคน ตามโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ครอบคลุมขอบเขตทั่วประเทศอย่างรวดเร็ว ทำให้ประชาชนทุกคนมีความรับรู้และเข้าใจใกล้ชิดกับนโยบายฯ แตกต่างจากเมื่อปี พ.ศ. 2542 ...