• การประเมินนโยบายกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 11 เพื่อสนับสนุนการดำเนินนโยบายในระยะถัดไป 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; ธารินทร์ เพ็ญวรรณ; Tharin Phenwan; ธนัย เกตวงกต; อภิญญา เลาหประภานนท์; Apinya Laohaprapanon; รัตติยา อักษรทอง; Ruttiya Asksonthong; Tanai Ketwongkot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      นโยบายทางด้านสุขภาพในประเทศไทย ได้ใช้แนวคิดในการกระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่นตามที่ระบุอยู่ใน พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น พ.ศ.2542 โดยเน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ...
    • การสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพสำหรับโรคหายากในประเทศไทย 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; รัตติยา อักษรทอง; Ruttiya Asksonthong; อภิญญา เลาหประภานนท์; Apinya Laohaprapanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      โรคหายาก (rare diseases) คือ โรคที่มีอุบัติการณ์และความชุกในประชากรต่ำ ซึ่งคำกำจัดความของโรคหายากจะแตกต่างไปตามนิยามของแต่ละพื้นที่ สำหรับสหภาพยุโรปนั้นได้ให้คำจำกัดความของโรคหายากว่า โรคที่มีความชุกของโรค 1 ใน 2,000 ...
    • ความจำเป็นในการเข้ารับบริการรักษาพยาบาลจากมุมมองของผู้ป่วยและแพทย์ 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; รัตติยา อักษรทอง; Udomsak Saengow; Apichai Wattanapisit; Ruttiya Asksonthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07)
      หนึ่งในข้อโต้แย้งสำคัญที่มักถูกยกขึ้นมาจากฝ่ายผู้ให้บริการเพื่อคัดค้านการให้การรักษาฟรีภายใต้นโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ว่า การที่รัฐบาลจัดการรักษาฟรีให้แก่ประชาชนนำไปสู่การเข้ารับบริการที่ไม่จำเป็นหรือเกินความจำเป็น ...
    • ผลของเศรษฐานะต่อการบรรลุผลสำเร็จในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; รัตติยา อักษรทอง; Ruttiya Asksonthong; อภิญญา เลาหประภานนท์; Apinya Laohaprapanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-10)
      ผลจากการศึกษาในประเทศที่มีระดับรายได้สูงพบว่า ผลลัพธ์ทางสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยสามารถเข้าถึงและได้รับการรักษาเดียวกันนั้น ยังคงแตกต่างกันไปตามเศรษฐานะ เป็นที่มาของความกังวลที่ว่าการจ่ายแบบ performance-based payment ...