Browsing by Author "วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ"
Now showing items 1-5 of 5
-
การตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ ในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์ และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช)
วรพรรณ เสนาณรงค์; Vorapun Senanarong; ชัชวาล รัตนบรรณกิจ; Chatchawan Rattanabannakit; พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์; Pipat Chiewvit; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; เลิศชาย วชิรุตมางกูร; Leatchai Wachirutmanggur; ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; เบญจาภา เขียวหวาน; Benjapa Khiewvan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)โครงการการตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ... -
การประเมินความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์ของยากลุ่ม SGLT2 inhibitors ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศไทย
วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)ที่มา: โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ปัจจุบันคาดการณ์ว่าประเทศไทยมีคนเป็นเบาหวานประมาณ 4.6 ล้านคน ค่าใช้จ่ายในการดูแลคนไข้เบาหวานประมาณ 3.5 – ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย
วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; พงศ์ธวัช เลิศวิลัยวิทยา; Pongtawat Lertwilaiwittaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเพศหญิง ในประเทศไทยมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์การเกิดมากที่สุดในเพศหญิง ส่วนโรคมะเร็งรังไข่พบได้เป็นอันดับ 6 โรคมะเร็งส่วนหนึ่งที่เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะ ... -
การประเมินระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหักที่ผ่าตัดเร็วโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลนำร่องของประเทศไทยและผลกระทบของการระบาดของโควิด-19 ต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหัก (ปีที่1)
วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; สุวิมล ต่างวิวัฒน์; Suwimon Tangwiwat; ธีรวุฒิ ธรรมวิบูลย์ศรี; Theerawoot Tharmviboonsri; เอกภพ หมอกพรม; Ekkaphop Morkphrom; อัญชนา สุรอมรรัตน์; Unchana Sura-amonrattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)ภาวะกระดูกสะโพกหัก (hip fracture) ในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย การดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้อย่างเหมาะสม ประกอบด้วย การรักษาโดยการผ่าตัดเร็ว (fast track surgery) และการดูแลโดยทีมสหส ... -
ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ...