• การศึกษาวิเคราะห์ช่องว่างงานวิจัยด้านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsap; วรรณสุดา งามอรุณ; Wansuda Ngam-Aroon; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2556)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นภาระต่อเศรษฐกิจและสังคมที่สำคัญในระดับโลก ทั้งนี้เพราะกลุ่มโรคดังกล่าวบั่นทอนสุขภาพและศักยภาพในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นค่าใช้จ่าย ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; อรพินท์ เล่าซี้; Orapin Laosee; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล; Kriengsak Thamma-Aphiphol; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ดุษณี ดำมี; Dusanee Dammee; กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์; Kawinarat Suthisukon; ศรินญา เพ็งสุก; Sarinya Phengsuk; จริยา ศรีกลัด; Jariya Sriklad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • พลังงานจาก 4 กลุ่มกิจกรรมทางกายที่คนไทยใช้ในแต่ละวัน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Phonguttha; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpisarn; อรณา จันทราศิริ; Orana Chantrasiri; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) ในแต่ละวันของประชากรไทย ทั้งในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อย โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม (Domains) ได้แก่ กลุ่มกิจกรรมในการทำงาน ...