Now showing items 1-20 of 46

    • Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ : สวรส. ปลดเงื่อนตาย คลายปมคิด กระจายอำนาจด้านสุขภาพ จากบทเรียนสู่ทางออก 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-01)
      เวทีวิชาการสู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ครั้งที่ 1 “10 ปี การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : สังเคราะห์บทเรียนเพื่อค้นหาทางออกร่วมกัน” ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2553 ณ ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า เป็นกิจกรรมทางวิชาการของแผนงานวิ ...
    • การขับเคลื่อนโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลทั่วไทย ใช้ยาคุ้มค่า ปลอดภัย ไม่ซ้ำซ้อน 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องดำเนินการ เนื่องจากส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วยในด้านประสิทธิผล คุ้มค่า ปลอดภัย และสามารถลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ และปัญหาเชื้อดื้อยา องค์การอนามัยโลกมีคำจำกัดความของ ...
    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วัชรา ริ้วไพบูลย์; รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดและที่มาของนโยบายเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ในอดีต และผลกระทบที่เกิดจากนโยบายดังกล่าวในการควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งนำเสนอประเด็นเพื่อใช้เป็นกรอบการกำหนดนโยบาย ...
    • การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนของประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ แนวคิดและประสบการณ์การจัดชุดสิทธิประโยชน์ทางสุขภาพช่องปากและเสนอแนะการจัดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมที่เหมา ...
    • การจัดระบบชดเชยค่าบริการการแพทย์ กรณีสิทธิประโยชน์การป้องกันและรักษาโรคเอชไอวี/เอดส์ สำหรับประชากรต่างด้าวในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaphron; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนที่อาศัยบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการจัดระบบหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย เพื่อเข้าถึงบริการสุขภาพ ทั้งนี้ ...
    • การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กต่างด้าว 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ประภาพร นพรัตยาภรณ์; Prapaporn Nopparattayaporn; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร ในวิสัยทัศน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมถึงแผนแม่บทการแก้ปัญหาและพัฒนาง ...
    • การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินและภาวะวิกฤตสำหรับบุคคลต่างด้าวที่ตกหล่นจากการประกันสุขภาพ 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สิรินาฏ นิภาพร; สุพล ลิมวัฒนานนท์; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; วราภรณ์ ปวงกันทา; ประภาพร นพรัตยาภรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-31)
      ในประเทศไทยมีความพยายามในการขึ้นทะเบียนและให้การคุ้มครองสุขภาพสำหรับบุคคลต่างด้าวอย่างต่อเนื่อง นโยบายที่สำคัญในการคุ้มครองสุขภาพคนต่างด้าว คือ นโยบายประกันสุขภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ นโยบายประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถ ...
    • การตอบสนองของนโยบายและผลลัพธ์ของบัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าวและผู้ติดตามในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; คนางค์ คันธมธุรพจน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-30)
      ปัญหาเรื่องสุขภาพของคนต่างด้าวเป็นประเด็นที่สำคัญในหลายประเทศ เนื่องด้วยในปัจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีทำให้การเคลื่อนย้ายถิ่นของประชากรทำได้สะดวกมากขึ้น ประเทศไทยก็มีความต้องการแรงงานต่างด้าวมากเพื่อการขับเคลื่อน ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ กรณีศึกษาจังหวัดระนอง 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; ธัญธิตา วิสัยจร; Thunthita Wisaijohn; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจวิธีบริหารจัดการและดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้ 'นโยบายประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2553' ผ่านกรณีศึกษาของจังหวัดระนอง โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย : ภาพรวมและประสบการณ์การใช้เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค และแบบฉายรังสีโคบอลต์-60 และเครื่องเพทซีที 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; จอมขวัญ โยธาสมุทร; ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์; สุวรรณา มูเก็ม; ปิยะอร แดงพยนต์; อรณัชชา เซ็นโส; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2554-12)
      การศึกษานี้มีเป้าหมายคือ เพื่อศึกษาภาพรวมของระบบการควบคุมและบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย และศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยี 3 ชนิดที่ราคาแพง ได้แก่ เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ...
    • การประเมินผล 10 ปีโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; นุศราพร เกษสมบูรณ์; สุรศักดิ์ สุนทร; อรณัชชา เซ็นโส; ปิยะอร แดงพยนต์; กนกวรรณ เส็งคำภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขแผนงานวิจัยและพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ, 2554-11)
      โครงการศึกษาประเมินผล ๑๐ ปี โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลบ้านแพ้วในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา หลังจากเปลี่ยนเป็นองค์การมหาชน วิธีการศึกษาใช้ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลทุติยภูมิ ...
    • การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านโรคมะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิมะเร็งชั้นสูง ทั้งในด้านประสิทธิผลของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการที่ระดับโรงพยาบาล ผลลัพธ์รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษา ...
    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การประเมินเพื่อพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : การอภิบาล ศักยภาพ และประสิทธิผล 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สุกัลยา คงสวัสดิ์; พันทิพย์ ธรรมสโรช; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในประเด็น การอภิบาลระบบการสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ (area based PP) ศักยภาพองค์กรในการอภิบาลระบบฯ และประสิทธิผลในการดำเนินงานตอบสนองต่อสภาพปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ...
    • การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ...