Now showing items 1-4 of 4

    • การทบทวนและสังเคราะห์องค์ความรู้ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2545-2550 

      วิพรรณ ประจวบเหมาะ; วรรณภา ศรีธัญรัตน์; ผ่องพรรณ อรุณแสง; ประเสริฐ อัสสันตชัย; วรเวศม์ สุวรรณระดา; ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; ศิริวรรณ ศิริบุญ; รัชพันธุ์ เชยจิตร; คมคาย บุญเสริมสุข; บรรลุ ศิริพานิช; ศิริวรรณ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.), 2552-06)
      การทบทวนองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุครั้งนี้จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมและสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่เกิดขึ้นระหว่างปี 2545-2550 หลังจากได้ประกาศใช้แผนผู้สูงอายุแห่งชาติมาแล้ว 5 ปีซึ่งนักวิจัย นักวิชาการจากหลายสถาบัน ...
    • ด้วยรักและกตัญญู สู่ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ยั่งยืน 

      กมล สุกิน; ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553-07)
      หากเปรียบผู้สูงอายุเหมือนดอกลำดวนสังคมไทยตอนนี้ก็คงคล้าย “ดงลำดวน” เพราะถึงวันนี้คงไม่มีใครกังขาอีกว่าสังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” มากขึ้นเรื่อยๆ อีกไม่นานจากนี้ เราจะมีคนวัย 60 ขึ้นไปมากถึง 1 ใน 4 ของประชากรบ้านเรา ...
    • ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนชนบทไทย 

      ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; เล็ก สมบัติ; ปรียานุช โชคธนวณิชย์; ธนิกานต์ ศักดาพร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-03)
      การวิจัยเรื่อง “ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนในชนบทไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและถอดตัวแบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุของครอบครัวและการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุของชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกว่าม ...
    • ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ : ทิศทางประเทศไทย 

      ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ลัดดา ดำริการเลิศ; อุบล หลิมสกุล; นงลักษณ์ พะไกยะ (แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-01)
      สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ (อายุมากว่า 60 ปี) ในปัจจุบันมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สังคมไทยต้องเริ่มมีการเตรียมค ...