Now showing items 1-20 of 26

    • การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ...
    • การจัดกลุ่มงานวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย: การทบทวนระบบจัดกลุ่มงานวิจัยสุขภาพใน 5 ประเทศ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      งานวิจัยในสาขาใดๆ ก็ตามควรได้รับการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการงานวิจัยและการนำไปใช้ประโยชน์ของทั้งนักวิจัย หน่วยงานวิจัยและหน่วยงานให้ทุน รวมถึงประชาชน ปัจจุบันหน่วยงานให้ทุนในประเทศไทย ...
    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นการซักถามหรือตรวจเบื้องต้น เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรือโรคในประชากรสุขภาพดี เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค อย่างไรก็ตาม การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจคัดกรองสุขภาพหลายรายการในระบ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมการจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การวิจัยด้านสุขภาพมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยค่อนข้างสูงในขณะที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการ รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของงานวิจัยด้ ...
    • การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัย; Suteenoot Tangsathitkulchai; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; เพียร เพลินบรรณกิจ; Pien Pleonbannakit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้สนใจศึกษางบประมาณ 4 ส่วนที่เกิดจากวิธีการจัดสรรของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้แก่ งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อเร่งรัดการเข้าถึงบริการ เพื่อชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อการดำเนินงานในชุมชน ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yoopetch (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ...
    • การประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความรู้และค้นหามาตรการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองในระดับประชากร โดยรวบรวมข้อมูลแนว ...
    • การประเมินผลกระทบด้านสังคมและปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยวิธีการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ และการใช้น้ำยา icodextrin 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุชาย ศรีทิพยวรรณ; Suchai Sritippayawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ขยายบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยเริ่มให้บริการการล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis, CAPD) เป็นลำดับแรก ...
    • การประเมินเทคโนโลยีการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม : มุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; วัชรา ริ้วไพบูลย์; มานัส โพธาภรณ์; จำรูญ ตั้งกีรติชัย; ชนิดา กาญจนลาภ; ศิตาพร ยังคง; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ, 2552-06)
      Hearing loss leads to a loss of communication though speech with most people and an inability to develop social relationships with other people. This leads to an acceptance of a lower standard of quality of life. Parents ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; พลกร กิจศิริวัฒนกุล; Ponlakorn Kitsiriwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; อัจฉรา เสถียรกิจการชัย; Achara Sathienkijkanchai; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; ชัยศิริ เหลืองสินศิริ; Chaisiri Luangsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มณฑิรา อัศนธรรม; Montira Assanatham; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ...
    • การศึกษาทบทวนการดำเนินการลดบริโภคเครื่องดื่มแอลกอออล์ในประเทศไทย พ.ศ. 2540-2550 และบทบาท สสส. 

      ศิตาพร ยังคง; จอมขวัญ โยธาสมุทร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; อดุลย์ โมฮารา; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; อินทิรา ยมาภัย; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; กาญจนาถ อุดมสุข; ศิริยุพา นันสุนานนท์; ณัฐวุฒิ พิมพ์สวรรค์; ยุทธนา อรวัฒนะกุล (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-11)
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • ข้อเสนอการปฏิรูประบบจัดการงานวิจัยด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      งานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศได้นั้น ต้องอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบของหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • มองไกล วิจัยสุขภาพ 

      อินทิรา ยมาภัย; ศิตาพร ยังคง; สุธาสินี คำหลวง; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา คำดี; ทรงยศ พิลาสันต์; คณาภรณ์ ธนูธรรมเจริญ; ธนพร บุษบาวไล; สรัญญา ใจกล้า; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-09)
      ระบบสุขภาพเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศไทยมักจะดำ ...