Browsing by Author "สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์"
Now showing items 1-20 of 51
-
Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ฉบับที่ 2 (กันยายน 2554) : กระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปสู่สิ่งที่ดีกว่า เพื่อเราทุกคน
จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Narong Sahamaethapt; Somsak Chunharas; Pongpisut Jongudomsuk; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)ยุทธศาสตร์การวิจัยระบบสุขภาพ ปี พ.ศ.2554-2558 ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จะเร่งจัดการความรู้สู่ระบบ สุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน และหนึ่งในแผนงานวิจัยที่สำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวคือ การพัฒนาความ เข้มแข็งกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพ ... -
R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ
วิจารณ์ พานิช; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; เชิดชัย นพมณีจำรัสเลิศ; อัครินทร์ นิมมานนิตย์; กุลธร กิติพูลวงษ์วนิช (โครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยาหิดล, 2554-07)หนังสือ “R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ” จัดทำเพื่อใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนขบวนการและเครือข่าย R2R ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ตรงของผู้ที่ได้สัมผัสกิจกรรม R2R จากหลากหลายบทบาทหลากหลายมิติ การทำความเข้าใจ R2R ... -
กลไก นโยบาย และบทบาทของส่วนต่างๆ ในสังคม เกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chunharas; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; Pintusorn Hempisut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-01) -
การกระจายอำนาจกับการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วรัญญู เสนาสุ (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)กระบวนการกระจายอำนาจและหลักการปกครองตนเอง (Decentralization and Local Self-government) ส่งผลให้เกิดการขยายบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความเชื่อมโยงกับประชาชน แนวความคิดในการจัดการปกครองท้องถิ่นของไทยจึงเกิดขึ้น ... -
การกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบท
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chumharas; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)การกระจายบุคลากรด้านสุขภาพในประเทศไทยดีขึ้นตามลำดับ ในอดีต ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ในพื้นที่ห่างไกลเป็นปัญหาที่รุนแรงมาก แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรเป็นสามกลุ่มเหลักที่ต้องใช้ทำงานให้กับภาครัฐเมื่อจบการศึกษา ... -
การจัดการความรู้กับการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11) -
การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545
ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศุภวาณี สำเภานนท์; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien; Supawanee Sumpaonon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ... -
การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย
ภูมินทร์ บุตรอินทร์; Bhumindr Butr-indr (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ถ้าจะกล่าวว่า “ระบอบประชาธิปไตยเป็นโครงร่างกระบวนการยุติธรรมนั้นก็เปรียบได้กับเนื้อหนังมังสา” แต่กระบวนการ ยุติธรรมนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงการใช้อำนาจของหน่วยงานต่างๆ แต่เป็นการให้บริการประชาชนโดยอำนาจความยุติธรรม ... -
การปฏิรูปกองทุนยุติธรรม
ปกป้อง ศรีสนิท; Pokpong Srisanit (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)ถ้าจะกล่าวว่า“ระบอบ ประชาธิปไตยเป็นโครงร่างกระบวนการยุติธรรมนั้นก็เปรียบได้กับเนื้อหนังมังสา”แต่กระบวนการ ยุติธรรมนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงการใช้อำนาจของหน่วยงานต่างๆ แต่เป็นการให้บริการประชาชนโดยอำนาจความยุติธรรม ... -
การปฏิรูปการกระจายอำนาจการคลังสู่ท้องถิ่น
ดวงมณี เลาวกุล (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนับว่ามีความสำคัญมากและได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ได้มีบทบัญญัติให้มีการกระจายอำนาจใ ... -
การปฏิรูปการกระจายอำนาจและการจัดการปกครองท้องถิ่น
ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์; Supasawad Chardchawarn (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)การสำรวจองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปประเทศไทยในประเด็นเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการจัดการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย ที่กำลังจะได้อ่านต่อไปนี้ เป็นความพยายามในการชี้ให้เห็นถึงประเด็นข้อถกเถียงเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการจัดก ... -
การปฏิรูปตลาดทุนกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
สฤณี อาชวานันทกุล; Sarinee Achavanuntakul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจถ้าปล่อยให้เลวร้ายลงเรื่อยๆ ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็น ‘ปัญหา’ ที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขของสังคมเนื่องจากสินทรัพย์อย่างเช่น หลักทรัพย์และที่ดินทวีมูลค่าตามกาลเวลาความ ... -
การปฏิรูปเพื่อลดการผูกขาดและส่งเสริมการแข่งขันในเศรษฐกิจไทย
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)โดยทั่วไปแล้วสภาพการแข่งขันในตลาดในทางปฏิบัตินั้นยังห่างไกลจากการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม เนื่องจากเหตุผลสองประการ ประการแรกกฎกติกาของภาครัฐอาจจำกัดการแข่งขันในตลาด ด้วยเหตุผลอื่นๆ ที่มิใช่เหตุผลในเชิงเศรษฐศาสตร์ เช่น ... -
การวิจัยกับการทำงาน
Somsak Chunharas; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2537)บทความนี้เขียนเมื่อปี พศ. 2537 ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นของการวิจัยเพื่อใช้ในการพัฒนาการสาธารณสุขในทุกระดับและทุกพื้นที่ เพราะในความเป็นจริงไม่มีวิธีการหรือสูตรสำเร็จใดๆ ที่จะเหมาะสมกับทุกพื้นที่ทุกสถานการณ์ การวิจัยระบบสา ... -
การสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2552-12-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเรื่อง “เคล็ดลับสำหรับคุณอำนวย R2R” ครั้งที่ 1/2552 โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ห้องปิติมหาการุญ 2000 ... -
การสำรวจองค์ความรู้ภาษีผลได้จากทุนในตลาดหุ้น และข้อเสนอสำหรับประเทศไทย
ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)การบังคับใช้ภาษีผลได้จากทุนจะ “มุ่งจัดเก็บจากกลุ่มคนมีรายได้สูงเป็นหลัก ซึ่งสามารถปรับปรุงระบบภาษีไทยให้มีลักษณะการจัดเก็บอัตราก้าวหน้ายิ่งขึ้นได้ นอกจากนั้น ภาษีผลได้จากทุนยังถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการเพิ่มร ... -
การสำรวจองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปประเทศไทย: การปฏิรูปตลาดทุนกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
สฤณี อาชวานันทกุล (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจถ้าปล่อยให้เลวร้ายลงเรื่อยๆ ได้พิสูจน์ ให้เห็นว่าเป็น ‘ปัญหา’ ที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขของสังคม เนื่องจากสินทรัพย์อย่างเช่น หลักทรัพย์ และ ที่ดิน ทวีมูลค่าตามกาลเวลา ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบาย ทิศทางบริการสุขภาพปฐมภูมิ
อำพล จินดาวัฒนะ; ประทีป ธนกิจเจริญ; ศิริพร กัญชนะ; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02) -
ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา
ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ... -
ความยุติธรรม คำพิพากษา ปัญหาสิ่งแวดล้อม
แบ๊งค์ งามอรุณโชติ; Bank Ngamarunchot (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมที่กล่าวถึงกันนั้นไม่ใช่ปัญหาทางกายภาพที่แยกขาดจาก “คน” หรือ “สังคม” การที่สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้นมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ในสังคมโดยเฉพาะการทำให้เกิด “ความขัดแย้ง” เช่นเมื่อโรงงานปลดปล่อย ...