• CUP Management : การบริหารจัดการเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Ernst Tenambergen (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      หน่วยบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ซึ่งเดิมเป็นบทบาทที่ใช้ในนามของคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) ฐานะที่เป็นองค์กรบริหารจัดการและพัฒนาระบบสาธารณสุขอำเภอ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้คำใหม่ในความหมา ...
    • การจัดบริการสุขภาพตามวิถีมุสลิม 4 ช่วงวัย : วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 

      เดชา แซ่หลี; อหมัดมูซูลัม เปาะจิ; อนันต์ชัย ไทยประทาน; มาหะมะ เมาะมูล; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ (สวรส.ภาคใต้) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-05)
    • การจัดระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      อมร รอดคล้าย; Amorn Rodklai; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwankit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      เหตุการณ์ก่อการร้าย 4 มกราคม 2547 โดยเริ่มจากการปล้นปืนค่ายทหารในจังหวัดนราธิวาส เป็นจุดเริ่มต้นของความรุนแรง เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และบางอำเภอของจังหวัดสงขลา ความรุนแรงย ...
    • การพัฒนาติดตามนโยบายการแก้ไขปัญหาสุขภาพภาคใต้สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      ธาดา ยิบอินซอย; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ประเวศ หมีดเส็น; ปวริศร์ อินยัญญะ; มณฏรี ศิริชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากโรงไฟฟ้าจะนะ สงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ชนนท์ กองกมล; Supat Hasuwannakit (โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา, 2552-05-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการพัฒนาระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม จัดโดย ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการสนับสนุนของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ...
    • การพัฒนาระบบบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดนใต้ 

      สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; อมร รอดคล้าย; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-10)
      วิกฤตในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เริ่มมีความรุนแรงมากขึ้นตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2547 เป็นภาวะวิกฤติที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกระดับอย่างรุนแรง ผลกระทบเกิดขึ้นในทุกภาคส่วนของจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส ...
    • การมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะนะ กับศูนย์สวัสดิการสุขภาพ ชุมชนตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwankit; มณฑา ถิระวุฒิ; Montha Thirawuthi; วิจัย ยานวิมุติ; Wichai Yanwimut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเป็นหัวใจของการขับเคลื่อนสุขภาวะในชุมชน จากหลักการดังกล่าวร่วมกับบริบทของตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่มีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง จึงเหมาะสมในการพัฒนาตัวแบบการมีส่วนร่วมในระบบสุขภาพในรูปแบบ ...
    • การเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าจะนะจากมลพิษทางอากาศ กรณีศึกษาหมู่บ้านควนหัวช้าง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ชนนท์ กองกมล (ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม, 2552-05-12)
    • ข้อมูลการเฝ้าระวังเพื่อเยียวยาสังคม 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างระดับสารมลพิษในอากาศและอาการในประชากรกรณีศึกษาบ้านควนหัวช้าง อ.จะนะ จ.สงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ชนนท์ กองกมล; ฐิติมา เภอเกลี้ยง; วรรณศิลป์ บุญณะแก้ว; ฟาอีซ๊ะ โตะโยะ; สมฤดี โสมเกษตรินทร์; ปิยะดา กองกมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-11)
      ระดับของฝุ่นและสารมลพิษหลายชนิดในอากาศ มีความสัมพันธ์กับการตายและการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือดทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ในพื้นที่อำเภอจะนะมีการก่อสร้างและประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมหลายชนิด ...
    • บทเรียนจากกองทุนสุขภาพชุมชนสู่แผนสุขภาพจังหวัดสงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwankit (โรงพยาบาลจะนะ, 2552-07-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 2 : จากชุมชนสู่นโยบาย R2R Success story: สุขภาวะทางเพศ, โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพระดับตำบล, ...
    • ประสบการณ์การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ (PCU management) 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      การรวบรวมประสบการณ์และบทเรียนที่เกิดขึ้นเรื่อง การบริหารจัดการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) หรือสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นผลที่มาจากการแลกเปลี่ยนระหว่างคนทำงาน PCU เพื่อเรียนรู้กระบวนการทำงานว่ ...
    • ประสบการณ์การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      การสาธารณสุขในเขตเมือง เป็นโจทย์ใหญ่ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการสาธารณสุขในเขตชนบท แม้ว่าส่วนใหญ่การจัดโครงสร้างการบริหารจัดการหน่วยบริการปฐมภูมิ (CUP : Contracted Unit for Primary care) ในเขตเมืองในขอบข่ายของกระทรวงสาธ ...
    • ระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤต 

      สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • วิกฤตของระบบสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; Pongthep Sutheravut; อมร รอดคล้าย; Amorn Rodklai; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      วิกฤตความรุนแรงของสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะอย่างรุนแรงทั้งทายกาย จิต/สังคม และจิตวิญญาณ การรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่องเริ่มเดือนมีนาคม 2547 ถึงมีนาคม 2550 โดยใช้การสอบถามและการสัมภาษณ์ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • โควิด-19 กับสังคมไทย : บันทึกวิกฤติและประสบการณ์การรับมือไวรัสโคโรนา 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Juengsateansup; สายพิณ ศุพุทธมงคล; Saipin Suputtamongkol; นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ; Narupon Duangwises; ชัชชล อัจนากิติ; Chutchon Ajanakitti; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai; พฤกษ์ เถาถวิล; Preuk Taotawin; สุมาลี มหณรงค์ชัย; Sumalee Mahanarongchai; จิราพร เหล่าเจริญวงศ์; Jiraporn Laocharoenwong; ปาณิภา สุขสม; Panipa Suksom; ตรงใจ หุตางกูร; Trongjai Hutangkura; สราวุธ ทับทอง; Sarawut Thupthong; เชาวน์วัฒน์ มูลภักดี; Chaowat Moonpakdee; ณัฐกร วิทิตานนท์; Nuttakorn Vititanon; สรานนท์ อินทนนท์; Saranond Inthanond; กุลระวี สุขีโมกข์; Kunravee Sukhimoke; ณปภัช สิริเกษมชัย; Napaphat Sirikasemchai; ณัฐสุดา ปั่นทรัพย์; Nutsuda Punsab; ชนาง อำภารักษ์; Chanange Amparuk; ฉัตรชัย ศิริวิทยรัตน์; Chatchai Siriwitayarat; สัมพันธ์ วารี; Sampan Waree; บำเพ็ญ ไชยรักษ์; Bampen Chaiyarak; วิภาวดี โก๊ะเค้า; Wiphavadee Kokhao; จรรยา ยุทธพลนาวี; Janya Youthapolnavee; วิวัฒน์ วนรังสิกุล; Wiwat Wanarangsikul; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit; พลินี เสริมสินสิริ; Palinee Sermsinsiri; สุนีย์ สุขสว่าง; Sunee Sooksawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      โครงการวิจัยโควิด-19 กับสังคมไทย : บันทึกวิกฤติและประสบการณ์การรับมือไวรัสโคโรนา (COVID-19 in Thai Society: Documenting Coronavirus Crisis and Epidemic Responses) มีวัตถุประสงค์เพื่อบันทึกประสบการณ์ ทำความเข้าใจวิธีคิดแล ...