Now showing items 1-14 of 14

    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yoopetch (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ...
    • การประเมินประสิทธิผลการใช้ระบบ CARE-call ในการติดตามการรับประทานยาเพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและลดอัตราการขาดยาวัณโรค 

      ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; ยงยุทธ โล่ศุภกาญจน์; รัชนิตย์ ราชกิจ เนตรสุวรรณ; กัลยาณี อัครกิตติมงคล; วุฒิชัย สวาทนา; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; วรรัตน อิ่มสงวน; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; อารียา ดิษรัฐกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศที่องค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีปัญหาด้านวัณโรค วัณโรค/เอช-ไอวี และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน การขาดความใส่ใจในการรักษาอย่างสม่ำเสมอ (Poor adherence) ทำให้การรักษาใช้เวลานานขึ้น มีปัญหาการดื้อยา ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป 

      ทัศมลวรรณ ไชยสังข์; Tassamonwan Chaiyasung; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; ปุณณา คุณหพันธ์; Punna Kunhapan; จักรกฤษณ์ เอื้อสุนทรวัฒนา; Jakris Eu-ahsunthornwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป เป็นโครงการที่ดำเนินการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 1,800 ตัวอย่าง โดยในปีที่ 1 รับตัวอย่างจาก 4 โครงการ เพื่อดำเนินการ ...
    • การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ 

      รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ยงค์ รงค์รุ่งเรือง; Yong Rongrungruang; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; กษมา สุขาภิรมย์; Kasama Sukapirom; มาโนช รัตนสมปัตติกุล; Manoch Rattanasompattikul; กนก วงศ์สวัสดิ์; Kanok Wongsawad; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; ลัลธริตา เจริญพงษ์; Lantharita Charoenpong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อิงอร ประสารชัยมนตรี; Ing-orn Prasanchaimontri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; ศยามล สุขขา; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; นุสรา สัตย์เพริศพราย; สาครินทร์ บุญบรรเจิดสุข; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-25)
      การใช้ยาสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตลอดจนรวมถึงค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...