Browsing by Author "หทัยชนก สุมาลี"
Now showing items 1-13 of 13
-
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ
หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ... -
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร : บทเรียนสำหรับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ลลิดา เขตต์กุฎี; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางกลไกยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคม เป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด ... -
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; ลลิดา เขตต์กุฎี; Lalida Khetkudee; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; Yaowalak Jittakoat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภ ... -
การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์
จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ... -
การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ
จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ... -
การประเมินผลการจัดบริการช่วยเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; Praphaphan Iamanan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์ระบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทยในช่วงปี 2550-2555 และปัจจัยความสำเร็จ รวมทั้งสรุปบทเรียนสำหรับการพัฒนารูปแบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ที่เหมาะสมในอนาคต โดยการทบทวนวรรณกรรม ... -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ... -
ความสัมพันธ์และความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจจากการสูบบุหรี่ : การศึกษาทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอนุมาน
จิรบูรณ์ โตสงวน; สุชัญญา อังกุลานนท์; หทัยชนก สุมาลี; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Jiraboon Tosanguan; Suchunya Aungkulanon; Hathaichanok Sumalee; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงและการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สำคัญประการหนึ่ง โดยในปัจจุบันได้มีการศึกษาทางด้านระบาดวิทยามากมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ซึ่งสำหรับโรคมะเร็งปอด ... -
ความเห็นของผู้ให้บริการต่อการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล ฉบับปีกาญจนาภิเษก : กรณีศึกษาระบบสารสนเทศ
กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; สัญญา ศรีรัตนะ; หทัยชนก สุมาลี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นปัญหาที่สำคัญต่อโรงพยาบาลซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงพยาลาล (Hospital Accrediation , HA) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล เพื่อนำมาประกอ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบาย เรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-07)ผลการรักษาหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์จากการรับบริการทางด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือความประมาทของผู้ให้บริการทางการแพทย์ก็ตาม นำมาซึ่งความสูญเสียและความขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้การรักษา ซึ่งมีผลกร ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายเรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ในระบบบริการสาธารณสุข
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)อาการไม่พึงประสงค์จากการรับบริการสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเหตุสุดวิสัยหรือจากความประมาทของผู้ให้บริการก็ตามนำมาซึ่งความสูญเสีย และความขัดแย้งระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการรักษา และมีผลกระทบต่อระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ... -
บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการกระจายอำนาจด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; หทัยชนก สุมาลี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP), 2553-05)การศึกษานี้มุ่งจะหาแนวทางในการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพในการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ทำการศึกษาโดยการทบทวนวรรณกรรมในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพที่อบต. ๔ แห่ง ผลการศึกษาพบว่า ...