Now showing items 1-10 of 10

    • การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย 

      จันทนา พัฒนเภสัช; อาทร ริ้วไพบูลย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศอิสราเอล 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      อิสราเอลเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วมีภาวะเศรษฐกิจที่ดี มีประชากรประมาณ 6 ล้านคนแต่มีพัฒนาการและสภาวะทางการเมืองรวมทั้งการพัฒนานโยบายด้านสาธารณสุขที่มีลักษณะเฉพาะ นับแต่การอพยพของชาวยิวเข้าไปอยู่ในดินแดนที่จะก่อตั้งเป็นประเทศในปัจจุบัน ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศมาเลเซีย 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health systems reform in Malaysia(phase II)Malaysia had been recognised as one with the best economy and healthcare system in the region. The health services were subsidised by the governmental budget as social welfare. ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศมาเลเซีย 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่เคยได้รับการยอมรับกันว่ามีฐานะทางเศรษฐกิจและการบริการสาธารณสุขที่ดีมากเมื่อเทียบกับประเทศในภูมิภาคเดียวกัน โดยใช้เงินงบประมาณในการจัดการสวัสดิการด้านสาธารณสุขให้กับประชาชน ผู้ใช้บริการเสียค่าใช ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ ต้นทุนและผลกระทบงบประมาณของการให้บริการล้างไตแบบต่อเนื่องในประเทศไทย 

      จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงจะเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจ ...
    • การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ...
    • การหาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกวัคซีนใหม่ในประเทศไทยโดยวิธี best-worst scaling 

      ศิริพร ภูริภัสสรกุล; Siriporn Pooripussarakul; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; จรุง เมืองชนะ; Charung Muangchana; Bishai, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำวัคซีนใหม่เข้ามาใช้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงพิจารณาปัจจัยสำคัญที่แตกต่างกันไปในการนำวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ ...
    • การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ทวีศักดิ์ มโนมยิทธิกาญจน์; Taweesuk Manomayitthikan; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ...
    • สวัสดิการสังคมและการดูแลสุขภาพอย่างไม่เป็นทางการ: กรณีศึกษาการใช้การประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการกำหนดเงินค่าชดเชยในประเทศไทย 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; กันยารัตน์ ปนสูงเนิน; ซัสมิทา แชทเทอร์จี; อาทร ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; Kanyarat Ponsoongnern; Susmita Chatterjee; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การศึกษานี้ประเมินการดูแลอย่างไม่เป็นทางการแก่คนพิการอันเนื่องมาจากโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย โดยการใช้วิธีสินค้าตัวแทนในการประเมินมูลค่าเป็นตัวเงินของการดูแล ซึ่งใช้ราคาตลาดของแรงงานที่ใกล้เคียงกับกิจกรรมการดูแลในการคำนวณต้นทุน ...