Now showing items 1-14 of 14

    • The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable. 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ...
    • การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      กุลยา รัตนปรีดากุล; Kulaya Rattanapreedakul; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์; วิชัย วิวัฒน์คุณูปการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ...
    • การประเมินกระบวนการนำมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติ : ความก้าวหน้าและเกณฑ์การคัดเลือกมติเพื่อการประเมินเชิงนโยบาย 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      การจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่ผ่านมา 3 ครั้ง ได้มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติรวม 34 มติ โดยมีระบบผลักดันและขับเคลื่อนผ่าน 5 ช่องทาง คือ 1) เสนอมติฯ ผ่าน คสช. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานที ...
    • การประเมินกระบวนการนำมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติระยะที่ 2 : กรณีศึกษา 6 มติ 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; เสกสรรค์ พวกอินแสง; กันยา บุญธรรม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การศึกษาเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการนำมติสมัชชาไปสู่การปฏิบัติ และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกระบวนการสมัชชา ด้วยการทบทวนเอกสาร ศึกษาเชิงปริมาณและคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาคือ คณะกรรมการขับเคลื่อนและผู้เก ...
    • การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านโรคหัวใจภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กันงบประมาณในส่วนงบลงทุนมาใช้จัดบริการภายใต้โครงการพัฒนาบริการตติยภูมิศูนย์โรคหัวใจ ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 และบริหารในรูปคณะกรรมการ เพื่อพัฒนาศูนย์บริการตติยภูมิทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคอย่ ...
    • การประเมินเพื่อพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : การอภิบาล ศักยภาพ และประสิทธิผล 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สุกัลยา คงสวัสดิ์; พันทิพย์ ธรรมสโรช; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในประเด็น การอภิบาลระบบการสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ (area based PP) ศักยภาพองค์กรในการอภิบาลระบบฯ และประสิทธิผลในการดำเนินงานตอบสนองต่อสภาพปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ...
    • การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปากแหว่งเพดานโหว่และเด็กพิเศษแบบองค์รวมไร้รอยต่อ: ระยะที่ 2 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      เด็กปากแหว่งเพดานโหว่ต้องการความดูแลจากผู้ปกครองและบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขมากกว่าเด็กทั่วไปตั้งแต่เกิด เนื่องจากความผิดปกติของริมฝีปาก จมูก กระดูกขากรรไกร สันเหงือกและฟัน ปัญหาที่พบขึ้นอยู่กับความรุนแรงของรอยแยก ...
    • การเงินการคลังบริการสุขภาพช่องปากในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษานี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่ายบริการสุขภาพช่องปาก จากรายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับรายจ่ายภาคครัวเรือน โดยใช้การวิเคราะห์รายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ 2 วิธี วิธีแรกคือ วิเคราะห์จากข้อมูลรายจ่าย ...
    • การใช้บริการสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 5-14 ปี : การวิเคราะห์การสำรวจระดับชาติแบบภาคตัดขวาง 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Phenkhae Lapying; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การศึกษาเชิงพรรณนานี้ต้องการสำรวจการใช้บริการสุขภาพช่องปากของเด็กอายุ 5-14 ปีระหว่างกลุ่มสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2544 โดยใช้ฐานข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการใน ...
    • ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ ศ 2543-2546: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; สมหญิง สายธนู; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ...
    • ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์; Tares Krassanairawiwong; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; Sirikiat Liangkobkit; สมหญิง สายธนู; Somying Saithanu; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ...
    • ประสิทธิภาพของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการโรงพยาบาลท่าวุ้ง 

      วราภรณ์ อินทร์พงษ์พันธุ์; Waraporn Inpongpan; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพรายปีของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการในโรงพยาบาลท่าวุ้ง ดัชนีประสิทธิภาพในการศึกษาคือ ต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยบริการ และอัตราส่วนค่าบริการที่เรียกเก็บต่อต้นทุนดำเนินการ ...
    • อัตราค่ารักษาทางทันตกรรมจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่และการเบิกจ่าย 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ดวงเดือน วีระฤทธิพันธ์; Doungdoen Veerarittiphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จ่ายค่าจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ให้หน่วยบริการแบบเหมาจ่ายครั้งเดียว 48,000 บาทตลอดชีวิตผู้ป่วยแม้ว่ายังอยู่ในระหว่างการจัดฟัน เมื่อผู้ป่วยบางคนมีความจำเป็นต้องย้ายที่อยู่และร ...