Now showing items 1-14 of 14

    • กระบวนการทางนโยบายและความสำเร็จในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : กรณีการปลูกถ่ายตับในเด็กที่มีภาวะท่อน้ำดีตีบตัน 

      วราภรณ์ สุวรรณเวลา; Waraporn Suwanwela; คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; Kanitsorn Sumriddetchkajorn; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      สิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครอบคลุมบริการอย่างรอบด้าน อย่างไรก็ตาม มีบริการบางอย่างที่ไม่ครอบคลุม (negative list) ซึ่งการปลูกถ่ายอวัยวะเป็นหนึ่งในรายการที่ไม่ครอบคลุมในสิทธิประโยชน์และ ...
    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การจัดระบบชดเชยค่าบริการการแพทย์ กรณีสิทธิประโยชน์การป้องกันและรักษาโรคเอชไอวี/เอดส์ สำหรับประชากรต่างด้าวในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaphron; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนที่อาศัยบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการจัดระบบหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย เพื่อเข้าถึงบริการสุขภาพ ทั้งนี้ ...
    • การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กต่างด้าว 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ประภาพร นพรัตยาภรณ์; Prapaporn Nopparattayaporn; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร ในวิสัยทัศน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมถึงแผนแม่บทการแก้ปัญหาและพัฒนาง ...
    • การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินและภาวะวิกฤตสำหรับบุคคลต่างด้าวที่ตกหล่นจากการประกันสุขภาพ 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สิรินาฏ นิภาพร; สุพล ลิมวัฒนานนท์; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; วราภรณ์ ปวงกันทา; ประภาพร นพรัตยาภรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-31)
      ในประเทศไทยมีความพยายามในการขึ้นทะเบียนและให้การคุ้มครองสุขภาพสำหรับบุคคลต่างด้าวอย่างต่อเนื่อง นโยบายที่สำคัญในการคุ้มครองสุขภาพคนต่างด้าว คือ นโยบายประกันสุขภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ นโยบายประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถ ...
    • การประเมินการถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: สังเคราะห์บทเรียนจากพื้นที่ 51 แห่งและทางเลือกในเชิงนโยบาย 

      อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; นิธิวัชร์ แสงเรือง; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; วีรศักดิ์ พุทธาศรี; วลัยพร พัชรนฤมล; Anond Kulthanmanusorn; Nithiwat Saengruang; Yaowaluk Wanwong; Hathairat Kosiyaporn; Woranan Witthayapipopsakul; Jaruayporn Srisasalux; Weerasak Putthasri; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02-28)
      การถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหนึ่งในหลายรูปแบบของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกค ...
    • การวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณและสถานการณ์การให้วัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กต่างด้าวที่ตกหล่นจากการประกันสุขภาพ 

      หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ประภาพร นพรัตยาภรณ์; Prapaporn Nopparattayaporn; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkanta; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      สุขภาพของคนต่างด้าวนับเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจในเชิงนโยบายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน อัตราการเกิดของเด็กต่างด้าวสูงขึ้นเป็นอย่างมาก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะการจัดบริการการให้วัคซี ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์การจัดบริการด้านการศึกษาและงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในโรงเรียนสำหรับเด็กต่างด้าวในประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดระนอง 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01-31)
      คุณภาพชีวิตของคนต่างด้าวนับเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางเช่น เด็กต่างด้าว แม้ว่าปัจจุบันเด็กต่างด้าวที่พำนักในประเทศไทยมีสิทธิได้รับการศึกษาพื้นฐานได้อย่างเท่าเทียมกับเด็กสัญชาติไทย แต่ยังพบว่ามีเด็กต่ ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย: วิธีต้นทุนจุลภาค 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชลธิดา ใบม่วง; Cholthida Baimuang; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย และศึกษาต้นทุนกิจกรรมบริการ ต้นทุนรายโรค และต้นทุนรายกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (diagnosis related group, DRG) โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการ ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...