Browsing by Author "Chagriya Kitiyakara, M.L."
Now showing items 1-4 of 4
-
การติดตามผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจโรคหลอดเลือดหรือการเสื่อมของการทำงานของไตแบบสหสถาบัน (ส.ห.ส.) ระยะ 2 (เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อนระยะยาวและความคุ้มทุนของการรักษา) (ปีที่ 1)
ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)โรคไตเรื้อรัง (CKD) มีผลต่อคุณภาพชีวิต มีค่าใช้จ่ายสูง เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ภาวะไตเสื่อม และภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ปัจจัยเสี่ยงมีทั้งปัจจัย traditional เช่น ความดันโลหิตสูง และ non-traditional เช่น ซีด ความแข็งของเส้นเลือด ... -
การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไต ผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 2
รัตนา ชวนะสุนทรพจน์; Ratana Chawanasuntorapoj; บุณยฤทธิ์ ชื่นสุชน; Boonyarit Cheunsuchon; ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L.; Thai Glomerular Disease Collaborative Network (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเสบโกลเมอรูลัสเป็น ... -
การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไตผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 3
รัตนา ชวนะสุนทรพจน์; Ratana Chawanasuntorapoj; บุณยฤทธิ์ ชื่นสุชน; Boonyarit Cheunsuchon; ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L.; สุชิน วรวิชชวงษ์; Suchin Worawichawong; นพนิต พัฒนชัยวิทย์; Nopanit Pattanachaiwit; บัญชา สถิระพจน์; Bancha Satirapoj; มงคล เจริญพิทักษ์ชัย; Mongkon Charoenpitakchai; วรางคณา พิชัยวงศ์; Warangkana Pichaiwong; ภานินี ถาวรังกูร; Paninee Thavarungkul; สิริภา ช้างศิริกุลชัย; Siribha Changsirikulchai; มนัสนันท์ รวีสุนทรเกียรติ; Manasanan Raveesunthornkiet; พรรณธิพา ต้นสวรรค์; Pantipa Tonsawan; อนุชา พัวไพโรจน์; Auncha Puapairoj; พรเพ็ญ แสงถวัลย์; Pornpen Sangthawan; วิญญู มิตรานันท์; Winyou Mitarnun; ภัทรวิน ภัทรนิธิมา; Pattharawin Pattharanitima; สักการ สังฆมานนท์; Sukkarn Sangkhamanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-07-31)ความรู้พื้นฐาน: โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเส ... -
เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต
ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...