Now showing items 1-10 of 10

    • Budget Impact Analysis of Including Renal Replacement Therapy in the Benefit Package of Universal Coverage in Thailand 

      Vijj Kasemsup; Phusit Prakongsai; Viroj Tangcharoensathien (International Health Policy Program, 2008)
      Objective: To estimate the amount of government health budget reqired for the extension of universal access to renal replacement therapy (RRT) towards beneficiaries of the universal converge (UC) health insurance scheme ...
    • Factors influencing inequitable access to radiation therapy of cancer patients in Thailand 

      Phusit Prakongsai; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien (International Health Policy Program, 2008)
      Objective: To describe factors influencing inequitable access to radiation therapy among cancer patients in Thailand by exploring the current situation and problems of both demand and supply sides after the implementation ...
    • Introducing government use of patents on essential medicines in Thailand, 2006-2007 : Policy analysis with key lessons learned and recommendations 

      Sripen Tantivess; Nusaraporn Kessomboon; Chotiros Laongbua (International Health Policy Program, 2551-06)
      In late 2006 and early 2007, Thailand๛s administration announced its intention to introduce the government use of patents for 3 pharmaceutical products, including 2 antiretrovirals (ARVs): efavirenz and lopinavir/ritonavir ...
    • Private-public mix in woman and child health in low-income countries: an analysis of demographic and health surveys 

      Supon Limwattananon (Health Systems Research Institute, 2551-10)
      Achieving the maternal and child health Millennium Development Goals (MDGs 4 and 5) is still a grand challenge to several low-income countries (LIC). An analysis of the most recent (2001-2006) Demographic and Health Survey ...
    • การประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพระดับจังหวัด 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับศึกษาการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพที่เป็นอยู่และที่คาดหวังในสายตาของผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติในระดับจังหวัด ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สำนักงาน, 2548)
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Anuwat Supachutikul; Jiruth Sriratanaban; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันมีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการในโรงพยาบาลต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการจัดทำรายงานประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประกันสุขภาพต่างๆ โดยที่ยังไม่แน่ ...
    • ระบบและกลไก : การเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข 

      กานต์ สุวรรณสาครกุล; Garn Suwansakornkul; อนุพงษ์ วิเลปนานนท์; Anupong Wilepananont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      แนวคิดเรื่องความเห็นที่สอง เป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทำให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการ ยิ่งไปกว่านั้น การนำแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทย ...